งานเวชระเบียนนั้นเกี่ยวข้องกับการพัฒนา การใช้และการเก็บรักษาข้อมูลทางการแพทย์ อันได้แก่ ข้อมูลทางด้านการรักษา และข้อมูลสถานะสุขภาพต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ป่วย การบริหารจัดการ และเพื่ออ้างอิงในการศึกษาวิจัยของนักวิชาการ เวชระเบียนที่ดีแสดงถึงคุณภาพการรักษาและบริการที่ดีด้วย และเพื่อการรับรองคุณภาพดังกล่าวนักเวชระเบียนควรมีบัญญัติพื้นฐานเพื่อการปฏิบัติสำหรับสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพเวชระเบียน ดังนั้นสมาคมเวชระเบียนแห่งสหรัฐอเมริกาจึงได้กำหนด จรรยาบรรณสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพเวชระเบียน ขึ้นมา
ประมวลจรรยาบรรณดังกล่าวข้างต้น เป็นหลักปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายในวิชาชีพเวชระเบียน ซึ่งจะมีผลผูกพันต่อผู้ที่เป็นสมาชิกของสมาคมเวชระเบียนแห่งสหรัฐอเมริกาและบุคคลอื่นๆ ซึ่งได้รับการรับรองจากสมาคมนี้ หลักจรรยาบรรณดังกล่าวประกอบด้วย
1. บริการย่อมมาก่อนผลประโยชน์อื่นใด มีความซื่อสัตย์สุจริตในวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนตัว ให้ความสนใจต่อผู้ป่วย (ลูกค้า) โดยเท่าเทียมกันโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติเพื่อนำชื่อเสียงเกียรติคุณมาสู่ตนเอง สู่สมาคม และสู่วิชาชีพเวชระเบียน
2. เก็บรักษาเวชระเบียนที่อยู่ในความดูแลของตนโดยถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล (ความลับ) โดยไม่มีการเปิดเผยหรือทำลาย นอกจากจะเป็นไปตาม กฎระเบียบ อายุความ หรือนโยบายของผู้บริหาร
3. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้บังคับบัญชา (นายจ้าง) มอบหมาย ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4. หลีกเลี่ยงการกระทำ หรือการปกปิดการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อจริยธรรมอันดี
5. เปิดเผยข้อมูลในเวชระเบียนต่อผู้เป็นเจ้าของเวชระเบียนโดยตรง (ตัวผู้ป่วย) ไม่เปิดเผยข้อมูลในเวชระเบียนโดยไม่จำเป็น ยกเว้นจะเป็นการใช้เพื่อเป็นหลักฐานตามกฎหมาย หรือเป็นไปตามกฎระเบียบอื่น ๆ
6. รักษากฎระเบียบต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการเวชระเบียนอย่างเคร่งครัด
7. ยอมรับเงินค่าบริการต่าง ๆ เฉพาะที่กำหนดไว้ในกฎหมาย หรือตามธรรมเนียมปฏิบัติ ซึ่งตนควรจะได้ตามหน้าที่
8. หลีกเลี่ยงการก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคลอื่น และไม่แสดงอำนาจการตัดสินใจที่นอกเหนือขอบเขตที่ตนเองรับผิดชอบอยู่
9. พยายามแสวงหาความรู้เพิ่มเติม หมั่นฝึกฝนและพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา เพื่อการบริการทางสาธารณสุขที่ดีมีสุขภาพ
10. มีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากร และเสริมสร้างความเข้มแข็งในวิชาชีพ ตลอดจนการเผยแพร่สาขาวิชาชีพเวชระเบียนให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณะ
11. ในฐานะเจ้าหน้าที่เวชระเบียนจะต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล (ความลับ) ของผู้ป่วย และเผยแพร่ข้อมูลขององค์กรในลักษณะภาพรวมทั้งหมด
12. บอกกล่าวความจริงอย่างละเอียดเกี่ยวกับการศึกษา ประสบการณ์ต่าง ๆ ของตนต่อผู้บังคับบัญชา (นายจ้าง) หรือว่าที่นายจ้างในอนาคต
ที่มา : ชมรมเวชระเบียนและสถิติแห่งประเทศไทย
หน่วยเวชระเบียนฉุกเฉิน Emergency Medical Record Unit
- ลงทะเบียนผู้ป่วยนอก Outpatient Registration
- ลงทะเบียนผู้ป่วยใน Inpatient Registration
กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียน
สิ่งแรกที่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานทางด้านเวชระเบียนสมควรต้องรู้ก็คือ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนี้ เพราะจะทำให้สามารถปฏิบัติงานใน
ขอบเขตของกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และไม่ก่อให้เกิดปัญหาตามมาใน
ภายหลัง โดยเฉพาะการกรอกข้อมูลต่าง ๆ ในเวชระเบียน หรือ
การรวบรวมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียน ................
ซึ่งกฎหมายที่สําคัญๆ มีดังนี้
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2550 )
รัฐธรรมนูญถือว่าเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายที่
กําหนดแนวทาง ขอบเขต สิทธิเสรีภาพ อํานาจ หน้าที่ของทั้งบุคคล
ทั่วไปหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรต่างๆในประเทศไทย
ซึ่งทุกคนต้องปฏิบัติตาม โดยมีหลักอยู่ว่า ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
ซึ่งมีบัญญัติไว้อย่างชัดเจน ดังนี้
มาตรา 30 วรรคหนึ่ง “ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและ
ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมี
สิทธิเท่าเทียมกัน“
มีความหมายว่า บุคคลทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในทุกเรื่องไม่ว่า
จะเป็นสิทธิการศึกษา สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และนอกจากนี้ยังได้
มีการกําหนดความคุ้มครองสิทธิต่างๆของ บุคคลไว้ด้วย โดยเฉพาะ
ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูลการเงิน เป็นต้น โดยเฉพาะข้อมูลด้านสุขภาพ
นั้นถือได้ว่ามีความสําคัญอย่างมาก ซึ่งในกฎหมายรัฐธรรมนูญได้กําหนด5หลักไว้ว่า
“ การกล่าว หรือ ไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่า
ด้วยวิธีใดไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบสิทธิของ
บุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว
จะกระทํามิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ อีกทั้ง
บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงหาประโยชน์
โดยมิชอบจากข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตน ทั้งนี้ตาม
ที่กฎหมายบัญญัติ “ *
จากหลักที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญดังกล่าวจะเห็นว่ามี
ส่วนเกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียนอยู่ ในเรื่องของข้อมูลในเวชระเบียนนั้น
ถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถเปิดเผยได้ไม่ว่าจะเป็นของชายหรือ
หญิง เว้นแต่มีเหตุจําเป็น ซึ่งกฎหมายรัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองไว้
อย่างชัดเจน
2. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
เป็นกฎหมายที่ออกมาเพื่อให้เกิดการดูแลรักษาด้านสุขภาพของ
ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน อีกทั้งต้องได้รับการดูแลเป็น
อย่างดีด้วย เพราะตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้
บัญญัติไว้ในเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจน ตามมาตรา 56 , 76 และ มาตรา 82
รวมทั้งเป็นการสร้างแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในเรื่อง
การให้บ ริการด้านการสาธารณสุข ทั้งทางด้านข้อ มูลและ
การรักษาพยาบาลรวมถึงการวิจัยทางการแพทย์
โดยก่อนที่จะทราบว่าพระราชบัญญัติดังกล่าวมีความเกี่ยวข้อง
* : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2550 ) มาตรา 35 6
กับงานเวชระเบียนอย่างไร ควรจะทราบถึงขอบเขตของกฎหมายฉบับนี้
ก่อนว่ามีอะไรบ้าง
ขอบเขตของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550 มีดังนี้
1.) สิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพ ได้แก่
- การให้ความยินยอมรับการบริการสาธารณสุขของ
ผู้รับบริการ
- การเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล
- การมีสทธิ รับทราบข ้อเท็จจริงการให้บริการสาธารณสุข
- ลักษณะวิธีปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือบุคลากร
ทางด้านสาธารณสุข
2.) อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
3.) อํานาจหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
4.) สมัชชาสุขภาพ
5.) ธรรมนูญว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติซึ่งกำหนดขอบเขต
สาระสําคัญว่าต้องประกอบด้วยเรื่องอะไรบ้าง โดยธรรมนูญ
นถี้ือได้ว่ามีลําดับศั ักดิ์ทางกฎหมายรองลงมาจากรัฐธรรมนูญ
แตกต่างกันตรงที่ว่า อํานาจของกฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นจะใช้
กับทางเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งโดยต้องอยู่ภายในขอบเขตของ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
เมื่อพิจารณาขอบเขตที่กล่าวข้างต้นแล้วพบว่า ส่วนที่เกี่ยวข้อง
ใกล้ชิดกับงานเวชระเบียนมากที่สุดคือ เรื่องของสิทธิด้านสุขภาพ
โดยเฉพาะในเรื่องของข้อมูลด้านสุขภาพและการให้ความยินยอมใน
การรับบริการสาธารณสุข7
เนื่องจากข้อมูลด้านสุขภาพเป็นข้อมูลของสุขภาวะ ประวัติ
สุขภาพ ประวัติการรับการรักษาพยาบาล ซึ่งจัดได้ว่าเป็นความลับ
ส่วนบุคคล มีความสําคัญทั้งทางการแพทย์และทางด้านการจัดการ
งานต่างๆ โดยยังอาจมีความสําคัญต่อชีวิตได้เช่น ในเรื่องปัญหาของ
การรับมรดกเอง หรือเป็นเจ้ามรดก หรือ รับสิทธิต่างๆอันพึงมีพึงได้
ของผู้ที่เป็นเจ้าของข้อมูล ส่วนจะสําคัญมากน้อยแค่ไหนจะกล่าวให้ทราบ
ในภายหลัง และยังมีในเรื่องของการให้ความยินยอมรับการบริการฯ ด้วย
ก็เช่นกัน เพราะปัจจุบันมีปัญหาร้องเรียน หรือแม้แต่ฟ้องร้องเป็นคดี
ความขึ้นสู่ศาลกันมากมายหลายคดีและมีหลายคดีที่ทางสถานบริการ
ด้านการสาธารณสุข หรือบุคลากรด้านการสาธารณสุขเองต้องตกเป็น
ฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ สืบเนื่องมาจากการที่ขาดหลักฐานเอกสารต่างๆ
มายืนยัน เพราะส่วนใหญ่มักจะอ้างว่า สถานบริการด้านการสาธารณสุข
หรือ บุคลากรด้านการสาธารณสุขให้การรักษาที่ไม่ถูกต้องและประมาท
เลินเล่อ โดยผู้รับบริการไม่อาจโต้แย้งหรือคัดค้านได้เลย จึงจําเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องมีการแจ้งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการให้โอกาสแก่
ผู้รับบริการที่จะตัดสินใจรับหรือไม่รับบริการดังกล่าวได้ ทําให้ต้องมี
เอกสารในการยินยอมรับการบริการด้านการสาธารณสุขประกอบกับ
เอกสารอื่น ๆ ในงานเวชระเบียนด้วย
สรุปแล้วปัจจุบันจึงมีพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
ออกมาเพื่อคุ้มครองทั้งผู้มาขอรับบริการสาธารณสุข สถานบริการ
ด้านการสาธารณสุข และ บุคลากรด้านการสาธารณสุขในเรื่องดังกล่าว8
3. พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
เหตุที่พระราชบัญญัติฉบับนี้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
งานด้านเวชระเบียน ก็เพราะว่าตามที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2550 ได้กําหนดขอบเขตไว้ว่า บุคคลใดก็ตามที่มาขอรับบริการ
สาธารณสุข หรือ จะถูกใช้ในงานวิจัยทางด้านสาธารณสุข ต้องให้
ความยินยอม หรือ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้มาขอรับบริการ
ตามลําดับ รวมทั้งผู้มาขอรับบริการมีสิทธิได้รับทราบข้อเท็จจริงใด ๆ
ก่อนที่ทางสถานบริการฯจะให้บริการด้วย จึงต้องมีการทําหนังสือ
ยินยอม หรือ ไม่ยินยอมรับบริการสาธารณสุขขึ้น เพื่อให้เป็นไปตาม
บทบัญญัติในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
โดยหนังสือยินยอมดังกล่าวจัดว่าเป็นนิติกรรมสัญญารูปแบบหนึ่ง
ซึ่งอาจระบุข้อความใด ๆอันเป็นเงื่อนไข หรือ ความตกลงไว้ในหนังสือ
ยินยอมดังกล่าวได้ ทั้งนี้ในบางกรณีอาจจะไม่เป็นธรรมแก่คู่กรณี
อีกฝ่ายหนึ่ง เช่น มีข้อความว่าหากเกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ผู้รับบริการ
ไม่สามารถเรียกร้องหรือฟ้องร้องใด ๆ เอาแก่ผู้ให้บริการได้เป็นต้น
ด้วยเหตุนี้จึงต้องนําพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม
มาคํานึงประกอบกับการจัดทําสัญญา หรือ หนังสือดังกล่าว เพื่อป้องกัน
ปํญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา
4. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ส่วนหนึ่งของงานเวชระเบียนจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลที่แสดง
สถานะของบุคคล เช่น ชื่อสกุล สถานะการสมรส หรืออํานาจกระทํา
การใด ๆ ของผู้รับบริการ ฯ ที่จะกระทําได้เช่น อํานาจที่จะให้9
ความยินยอมของผู้รับบริการฯ ที่เป็นผู้เยาว์ เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลถึง
ความสมบูรณ์ถึงเอกสารหลักฐาน การกระทําใด ๆ ห รือ แม่แต่
การดําเนินการในส่วนที่เป็นสิทธิที่ผู้รับบริการฯจะพึงได้รับ เช่น สิทธิตาม
ประกันสังคม เป็นต้น
โดยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวมาข้างต้นโดยตรงก็คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพราะว่าเป็นกฎหมายที่กําหนด
บทบาท หน้าที่ การรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน การกระทําการใด ๆ
เชน นิติกรรม สัญญา สภาพบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
ของบุคคลทั่วไปเป็นประจําอยู่แล้ว โดยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
ทางด้านงานเวชระเบียนและการให้บริการในด้านต่างๆจะมีดังนี้
1.) สภาพบุคคล : สิทธิและหน้าที่ของผู้เยาว์โดยที่ผู้เยาว์ตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์นี้มีความหมายว่า ผู้เยาว์คือ บุคคลที่
มีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
2.) นิติกรรมสัญญา : ซึ่งเป็นข้อพิจารณาที่ต้องดูควบคูุไปกับ
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
3.) การละเมิด : เป็นเรื่องที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก
การรับบริการจากบุคลากร หรือ หน่วยงานด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิด
จากความประมาทเลินเล่อ หรือ จงใจก็ตาม อีกทั้งยังกําหนดขอบเขต
ของการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนว่าจะเรียกร้องอะไรได้บ้าง
4.) อํานาจผู้ปกครอง : ใช้ในเรื่องของอํานาจการให้
ความยินยอมในกรณีที่ผู้มาขอรับบริการเป็นผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ
หรือ บุคคลวิกลจริต ซึ่งส่วนรายละเอียดจะกล่าวในภายหลัง10
5. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ( Convention on the right of
the child)
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเป็นสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่าง
ประเทศที่ได้รับความเห็นชอบมากที่สุดในโลก โดยทุกประเทศในโลกได้ให้
สัตยาบัน ยกเว้นประเทศโซมาเลีย และสหรัฐอเมริกา
ในปีพ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาฉบับนี้
ระบุความละเอียดของสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ ไว้ว่าทุกประเทศต้อง
รับประกันเด็กในประเทศของตน หนึ่งในนั้นได้แก่ สิทธิที่จะมีชีวิตรอด
กล่าวคือ การได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ดีนั่นเอง
โดยเด็กตามความหมายในอนุสัญญาฉบับนี้จะต่างกับในประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตรงที่ว่า เด็กตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
หมายถึง บุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ เว้นแต่จะได้บรรลุ
นิติภาวะโดยเหตุอย่างอื่นที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ซึ่งจะกล่าวในภายหลัง
อันจะมีผลในเรื่องของขอบเขตอํานาจ หรือ สิทธิของเด็กที่จะเข้ามาขอรับ
บริการจากสถานพยาบาลว่า สามารถกระทําเองได้เพียงใด
6. คําประกาศสิทธิผู้ป่วย
สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลใช้ยันกับผู้อื่นเพื่อ
คุ้มครอง หรือ รักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนอันพึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น
สิทธิผู้ป่วย จึงหมายถึง ความชอบธรรมที่ผู้ป่วยซึ่งรวมถึงผู้ที่ไป
รับบริการด้านสุขภาพต่างๆจะพึงได้รับ เพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของ
ตนเอง โดยไม่ละเมิดถึงสิทธิของผู้อื่น แม้ว่าที่ผ่านมาความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ป่วยและผู้ใช่บริการด้านสุขภาพสาขาต่างๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน11
ของความเกื้อกูลกัน น้ำใจ และไว้วางใจซึ่งกันและกัน แต่
ความสลับซับซ้อนทางสังคม และกระแสของวัฒนธรรมทางธุรกิจนั้นได้
เพิ่มขยายความขัดแย้งทางจริยธรรมมากขึ้น ทําให้ต้องมีบทบัญญัติ
ทั้งในทางกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์กฎหมายคุ้มครอง
ผู้บริโภค และข้อบังคับทางจริยธรรมแห่งวิชาชีพสาขาต่างๆ เพื่อจัด
ระเบียบการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และ
บริการด้านสุขภาพต่างๆให้เข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นในหลายประเทศจึงได้มีการประกาศสิทธิผู้ป่วย หรือ
กฎบัตรผู้ป่วยขึ้น เพื่อรับรองให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงาน สําหรับ
ประเทศไทยองค์กรสภาวิชาชีพด้านสุขภาพ ได้เล็งเห็นประโยชน์ที่จะ
รวบรวมสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ป่วยตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติที่สอดคล้อง
กับวิถีไทย จัดทําเป็นประกาศเพื่อให้รู้ทั่วกันทั้งประชาชน ผู้ป่วย และ
ผู้ให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ ทั้งแพทย์พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร
และผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาต่างๆโดยมุ่งหวังที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจ
อันดีลดความขัดแย้ง และนําไปสู่ความไว้วางใจ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่นําไป
สู่ผลการรักษาพยาบาลที่ดีโดยคําประกาศสิทธิผู้ป่วยมี 10 ข้อ ดังนี้
ข้อที่ 1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับบริการ
ด้านสุขภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เนื่องจากในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนั้นมีข้อกําหนด
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของคนไทย ระหว่างผู้ป่วยและผู้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมรวมไปถึงการให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นในการดูแลผู้ใช้บริการทุกรายต้องดูแลเป็็นอย่างดี
อย่างสมเหตุสมผล และตัดสินใจให้การดูแลเป็นราย ๆ ตาม12
ความเหมาะสมกับอาการ หรือ โรคที่เป็นด้วยวิจารณญาณและความรู้ใน
วิชาชีพ รวมทั้งต้องรู้สิทธิอันพึงมีพึงได้ของผู้รับบริการ เช่น ผู้ยากไร้
เด็กอายุ 0 – 12 ปีหรือ ผู้ที่มีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพยาบาลจาก
สถานบริการของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ข้อที่ 2 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
สุขภาพโดยไม่เลือกปฏิบัติเนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ
ศาสนา ลัทธิการเมือง เพศ อายุและลักษณะของความเจ็บป่วย
ดังนั้นผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการสุขภาพในมาตรฐานที่ดี
ที่สุดตามฐานานุรูป โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติทั้งนี้มิได้หมายความรวมถึง
สิทธิอื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนือบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น การไม่ต้องชําระ
ค่ารักษาพยาบาล การพักในห้องพิเศษต่างๆและบริการพิเศษอื่น ๆ
เป็นต้น
ขอที่ 3 ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิที่จะไดรับขอมูล
อยางเพียงพอ จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพเพื่อใหผูปวยสามารถ
เลือกตัดสินใจในการยินยอม หรือไมยินยอมใหประกอบวิชาชีพ
ดานสุขภาพปฏิบัติตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน
สิทธิที่จะรับรูขอมูลขาวสารและตัดสินใจในการทําบําบัดรักษา
โรคภัยที่เกิดขึ้น นับเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของผูปวยซึ่งผูประกอบวิชาชีพ
ดานสุขภาพตองอธิบายใหผูปวยทราบถึงอาการ การดําเนินโรค วิธี
การรักษาความยินยอมของผูปวยนั้นจึงจะมีผลตามกฎหมาย ซึ่งเรียกวา
ความยินยอมที่ไดรับการบอกกลาว ( Informed Consent ) ยกเวน
การชวยเหลือในกรณีรีบดวนฉุกเฉิน ซึ่งจําเปนตองกระทําเพื่อชวยชีวิต13
ผูปวยตามขอ 4 และคําประกาศสิทธิขอนี้เองที่ถือวาเปนสวนหนึ่งของ
การที่ผูใหบริการดานสุขภาพจําตองไดรับความยินยอมจากผูปวยเสียกอน
ขอที่ 4 ผูปวยที่อยูในสภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิ
ที่จะไดรับความชวยเหลือรีบดวนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดย
ทันที ตามความจําเปนแกกรณีโดยไมคํานึงวาผูปวยจะรองขอ
ความชวยเหลือหรือไม
การชวยเหลือผูปวยในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต ถือวาเปน
จริยธรรมแหงวิชาชีพขั้นพื้นฐาน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพจะตอง
ดําเนินการโดยทันทีเมื่อตนอยูในฐานะที่จะใหความชวยเหลือได
การชวยเหลือในลักษณะเชนนี้นับวาเปนความจําเปนในการชวยชีวิต
แมวาจะไมไดรับการรองขอจากผูปวย ซึ่งบอยครั้งก็ไมอยูในสภาพมีสติ
พอที่จะรองขอไดถือวาเปนการกระทําโดยความจําเปน ไมมีความผิด
แตการที่ปฏิเสธความชวยเหลือนับวาเปนการละเมิดขอบังคับแพทยสภา
วาดวยการรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526 และอาจผิด
กฎหมายอาญาไดดวย
ขอที่ 5 ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับทราบชื่อ สกุล และประเภทของ
ผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพที่เปนผูใหบริการแกตน
ในสถานพยาบาลตางๆจะมีผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพตางๆ
หลายสาขาปฏิบัติงานรวมกันในการชวยเหลือผูปวยกับบุคลากรผูชวย
ตางๆ หลายประเภท ซึ่งบอยครั้งกอใหเกิดความไมแนใจและความไม
เขาใจแกผูปวยและประชาชนทั่วไป ดังนั้นการกําหนดใหผูปวยมีสิทธิที่จะ
สอบถามชื่อ และโดยเฉพาะอยางยิ่งประเภทของผูประกอบวิชาชีพที่
ใหบริการแกตน จึงชวยผูปวยในฐานะผูบริโภคกลาที่จะสอบถามขอมูลที่14
จะชวยใหเกิดความเขาใจและสามารถตัดสินใจเพื่อคุมครอง
ความปลอดภัยของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหบริการซึ่งไมมีคุณภาพ
เพียงพอ
ขอที่ 6 ผูปวยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผูประกอบวิชาชีพดาน
สุขภาพอื่น ๆ ที่มิไดเปนผูใหบริการแกตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยน
ผูใหบริการและสถานบริการได
สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัย ( The right to safety ) สิทธิที่จะ
ไดรับขาวสาร ( The right to be informed ) สิทธิที่จะบอกเลิก
( The right to choose ) นับเปนสิทธิที่สําคัญของผูบริโภคสินคาและ
บริการ ซึ่งรวมถึงการบริการทางดานสุขภาพ ในวัฒนธรรมปจจุบันผูปวย
ยังมีความเกรงใจและไมตระหนักถึงสิทธินี้ ทําใหเกิดความไมเขาใจเมื่อ
ผูปวยขอความเห็นจากผูใหบริการตอสุขภาพของผูอื่น หรือไมให
ความรวมมือในการที่ผูปวยจะเปลี่ยนผูใหบริการหรือสถานบริการ
การกําหนดสิทธิผูปวยในประเด็นนี้ใหชัดแจง จึงมีประโยชนที่จะลด
ความขัดแยงและเปนการรับรองสิทธิผูปวยที่จะเลือกตัดสินใจดวยตนเอง
ขอที่ 7 ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับการปกปดขอมูลที่เกี่ยวกับตนเอง
จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยเครงครัด เวนแตจะไดรับ
ความยินยอมจากผูปวยหรือการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย
สิทธิสวนบุคคลที่จะไดรับการปกปดขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยนี้
ถือวาเปนสิทธิผูปวยที่ไดรับการรับรองมาตั้งแตคําสาบานของ Hippocratis
ซึ่งประเทศไทยก็ไดรับรองสิทธินี้ในกฎหมายอาญาแหงประมวลกฎหมาย
อาญา นอกจากนี้ยังมีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ พ.ศ. 2540 ขอบังคับของแพทยสภาวาดวยการรักษา-15
จริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526 หมวด 3 ขอ 9 และ
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ซึ่งถือไดวาสังคมให
ความสําคัญกับสิทธิผูปวยในขอนี้มาก เพราะถือวาเปนรากฐานที่ผูปวยให
ความไววางใจตอแพทยเพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลตนเอง
แตอยางไรก็ตาม ก็มีขอยกเวนในกรณีที่มีเหตุผลและ
ความจําเปนที่เหนือกวา เชน การปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย หรือ
การคุมครองประโยชนสาธารณะเพื่อความสงบเรียบรอยและความมั่นคง
ของประชาชน หรือในกรณีที่คุมครองอันตรายรายแรงของบุคคลอื่น
การเปดเผยขอมูลตอศาล การแจงขอมูลตอบุคคลที่สามเพื่อคุมครอง
อันตรายรายแรงของบุคคลอื่น เปนตน โดยนอกจากนี้แลวตาม
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ยังไดวางหลักไวในเรื่องนี้
ดวย จึงจําเปนที่ผูใหบริการดานสุขภาพตองมีความระมัดระวังไมใหขอมูล
ดานนี้ถูกเปดเผยโดยไมจําเปน ( ฝาฝนตอบทบัญญัติของกฎหมาย )
จึงถือไดวา คําประกาศสิทธิผูปวยขอนี้มีความสําคัญอยางยิ่งตอ
งานเวชระเบียนเปนอยางมาก
ขอที่ 8 ผูปวยมีสิท ธิที่จะไดรับขอมูลอยางครบถวนใน
การตัดสินใจเขารวม หรือถอนตัวจากการเปนผูถูกทดลองในการทําวิจัย
ของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ
ในปจจุบันมีความจําเปนในการทดลองมนุษยเพื่อความกาวหนา
ในทางการแพทยมีมากขึ้น ประเทศไทยยังไมมีบทบัญญัติในกฎหมายที่
เกี่ยวกับการทดลองในมนุษย โดยเฉพาะขอบังคับแพทยสภาวาดวย
การรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพ พ.ศ. 2526 หมวด 1 ขอ 6 ระบุวา16
“ ขอ 6 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูทําการทดลองในมนุษยตอง
ไดรับความยินยอมจากผูถูกทดลอง และตองพรอมที่จะปองกันผูถูก
ทดลองจากอันตรายที่เกิดขึ้นจากการทดลองนั้นๆ“
ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550
มาตรา 9 ก็มีบัญญัติในเรื่องดังกลาวดวยเชนกัน คือ
“ ในกรณีที่ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขประสงคใช
ผูรับบริการเปนสวนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย ผูประกอบวิชาชีพ
ดานสาธารณสุขตองแจงผูรับบริการกอนจึงจะดําเนินการได
ความยินยอมดังกลาว ผูรับบริการจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได“
ขอ ที่ 9 ผูปวยมีสิท ธิที่จะไดรับทราบขอ มูลเกี่ยวกับ
การรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อรองขอ ทั้งนี้
ขอมูลดังกลาวตองไมเปนการละเมิดสิทธิสวนตัวของบุคคลอื่น
การที่แพทยบันทึกประวัติการเจ็บปวยและการรักษาตางๆของ
ผูปวยในเวชระเบียนอยางละเอียด นับเปนเครื่องมือที่สําคัญในการให
การรักษาพยาบาลผูปวยอยางตอเนื่องและคุณภาพ นับเปนมาตรฐาน
ของการประกอบเวชกรรมสากล อยางไรก็ตามขอมูลที่ปรากฏใน
เวชระเบียนถือเปนขอมูลสวนบุคคล ซึ่งเจาของประวัติมีสิทธิที่จะได
รับทราบขอมูลได โดยสิทธินี้ไดรับการรับรองตามพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 อยางไรก็ตามเนื่องจากขอมูลในเวชระเบียน
อาจมีบางสวนซึ่งเปนการแสดงความเห็นของแพทยในการรักษาพยาบาล
และอาจกระทบตอบุคคลอื่น ๆไดดังนั้นการเปดเผยขอมูลใหผูปวยทราบ
จะตองเปนการละเมิดสวนตัวของบุคคลอื่น ทั้งนี้รวมถึงกรณีผูปวย
ยินยอมใหเปดเผยขอมูลของตนตอบุคคลที่สามยกเวนในกรณีที่มี17
การประกันชีวิต หรือสุขภาพ
ขอที่ 10 บิดามารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรมอาจใชสิทธิแทน
ผูปวยที่เปนเด็กอายุยังไมเกิน 18 ปบริบูรณ ผูบกพรองทางกาย หรือ
จิตใจ ซึ่งไมสามารถใชสิทธิดวยตนเองได
สําหรับผูบกพรองทางกายและจิตใจนั้น ตองถึงขนาดวา
ไมสามารถเขาใจหรือตัดสินใจดวยตนเอง เชน วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอน
ไมสมประกอบ สวนใครจะเปนผูแทนโดยชอบธรรมนั้นจะกลาวใน
ตอนตอไป
ดังจะเห็นไดวางานดานเวชระเบียนนั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวของอยู
หลายฉบับ ซึ่งถาปฏิบัติงานไมอยูในกรอบของกฎหมายแลวอาจจะนําพา
ความยุงยากมาสูผูปฏิบัติงาน หรือหนวยงานได ดวยเนื่องจากวา
เวชระเบียนเปนเอกสารหลักฐานที่สําคัญเปนอยางยิ่ง ทั้งทาง
ดานการแพทยเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หรือ เมื่อมีการรองเรียน
มีการฟองรองเปนคดีขึ้นสูศาล ก็สามารถใชเปนหลักฐานที่สําคัญใน
การอางอิงเปนพยานตอการสอบสวน หรือ สืบพยาน หากเวชระเบียนนั้น
ไดกระทําโดยไมอยูในกรอบของกฎหมายแลว การที่จะอางมาเปน
พยานหลักฐานนั้นก็จะมีน้ําหนักนอย และอาจจะเปนการพาดพิงถึง
การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่เวชระเบียนวามีความประมาทเลินเลอจน
ทําใหเกิดความเสียหายได18
เวชระเบียน เปนเอกสารที่มีความสําคัญทางการแพทยเปนอยางมาก
โดยมีประโยชนดังตอไปนี้
♦ เปนหลักฐานทางกฎหมาย
♦ เปนเครื่องมือในการดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง
♦ เปนแหลงขอมูลในการศึกษาและวิจัย
♦ เปนแหลงในการรวบรวมขอมูลเพื่อวิเคราะห
♦ วิธีในการประเมินคุณภาพการรักษา
♦ เปนเครื่องมือในการสื่อสารระหวางบุคลากรทางสาธารณสุข
♦ เปนหลักฐานในการเบิกเงินจากกองทุนตางๆ
ดวยเหตุนี้การสรุปเวชระเบียนที่มีคุณภาพ ตองมีองคประกอบที่
ครบถวนชัดเจน ทั้งสวนที่ใชในการวินิจฉัย การรักษาผูปวย และใน
การดําเนินการตางๆในกระบวนการยุติธรรม
แพทยสภาไดกําหนดแนวทางในการบันทึกเวชระเบียนออกเปน
• เวชระเบียนผูปวยนอก
• เวชระเบียนผูปวยใน
• เวชระเบียนเมื่อมีการทําหัตถกรรม
แตอยางไรก็ตาม หลักสําคัญในการบันทึกเวชระเบียนนั้นจะมี
ลักษณะเหมือนกันซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้
*
1.) การบันทึกขอมูลทางคลินิกเปนความรับผิดชอบของแพทย
ผูดูแลรักษาผูปวย ซึ่งอาจรวมถึงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของไดเชน พยาบาล
* : ณัฐ ตันศรีสวัสดิ์ภาควิชานิติเวชศาสตรคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย19
หรือเจาหนาที่ทางเวชระเบียน เปนตน
2.) การบันทึกขอมูลทําดวยตนเอง หรือกํากับตรวจสอบให
ผูอื่นบันทึกใหถูกตอง
3.) บันทึกประวัติอาการสําคัญ
4.) ประวัติการแพยา สารเคมีหรือสารอื่น
5.) สัญญาณชีพ ( Vital Signs )
6.) ผลการตรวจรางกายผูปวยที่ผิดปกติหรือมีความสําคัญ
ตอการวินิจฉัย หรือใหการรักษาแกผูปวย
7.) ปญหาของผูปวย หรือการวินิจฉัยโรค หรือการแยกโรค
8.) การสั่งการรักษาพยาบาล รวมตลอดถึงชนิดของยา และ
จํานวนยา
9.) ในกรณีที่มีการหัตถกรรม ควรมีบันทึกเหตุผล
ความจําเปนของการทําหัตถกรรม ใบยินยอมของผูปวย หรือผูแทน
ภายหลังที่ไดรับทราบเขาใจถึงขั้นตอน ผลดีและอาการแทรกซอนที่อาจ
เกิดจากการทําหัตถกรรม
10.) คําแนะนําอื่น ๆ ที่ใหแกผูปวย
11.) การบันทึกเวชระเบียนนั้นควรเขียนใหอานออก
อานงายและชัดเจน ในประเด็นนี้มีความสําคัญคอนขางมากหากเกิด
การฟองรองดําเนินคดีในชั้นศาล เพราะถือวาเวชระเบียน เปน
พยานหลักฐานสําคัญในการใหการรักษาพยาบาลแกบุคคล
หากพยานหลักฐานดังกลาวไมมีความชัดเจน ยอมทําใหผูที่ตองอาง
พยานหลักฐานเสียเปรียบในเชิงอรรถคดีหรือเสียผลประโยชนโดย
ไมจําเปน20
12.) การบันทึกเวชระเบียนนั้นไมควรใชอักษรยอที่ไมเปน
สากล เพราะจะทําใหไมสามารถสื่อความหมายไดถูกตอง หรือการแปล
ความหมายโดยผูอื่นนั้นผิดพลาดไปไดซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูที่มา
รับการรักษา หรือแมกระทั่งในการตอสูเชิงอรรถคดีตามกระบวน
การยุติธรรมก็สามารถทําใหเกิดการเสียเปรียบไดซึ่งคลายกับการบันทึก
เวชระเบียนที่ไมชัดเจน อานไมออกนั่นเอง
13.) การสั่งการรักษาพยาบาลดวยคําพูด หรือทางโทรศัพท
จะทําไดเฉพาะกรณีที่มีความจําเปนเรงดวนเพื่อความปลอดภัยของผูปวย
หรือในกรณีการรักษาที่ไมกอใหเกิดผลรายตอผูปวย ทุกครั้งที่สั่งการรักษา
ดวยคําพูดหรือทางโทรศัพทแพทยผูสั่งการรักษาตองลงนามกํากับทาย
คําสั่งโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําไดและอยางชาที่สุดไมควรเกิน 24 ชั่วโมง
ภายหลังการสั่งการรักษาดังกลาว
13.) บันทึกเวชระเบียนควรมีความสมบูรณอยางชาภายใน
15 วัน หลังจากผูปวยถูกจําหนายออกจากการรักษาพยาบาล
14.) เพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลผูปวยใหตอเนื่อง
ควรเก็บรักษาบันทึกเวชระเบียนไวอยางนอยที่สุด 5 ปนับจากวันที่ผูปวย
มาติดตอรับการรักษาครั้งสุดทาย
15.) และกอนที่สถานพยาบาลจะทําลายเวชระเบียนควรไดมี
การประกาศเพื่อใหผูปวยที่ยังประสงคจะใชประโยชนจากขอมูลใน
เวชระเบียนสามารถคัดคานการทําลาย หรือทําการคัดลอก คัดสําเนา
ขอมูลเฉพาะสวนของตนเพื่อประโยชนตอไป21
ในอดีตนั้น บุคคลใดที่ตองการไดรับการบริการดานสาธารณสุข เมื่อ
บุคคลนั้นไปติดตอขอรับบริการจากสถานบริการทางดานสาธารณสุข
สถานบริการนั้นสามารถใหการบริการไดทันทีแตในปจจุบันไดมีการตรา
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งไดบัญญัติในเรื่อง
ดังกลาวไววา กอนที่สถานบริการทางดานสาธารณสุขนั้นจะใหบริการ
ใด ๆ ตองไดรับความยินยอมจากผูที่มาขอรับบริการกอน
ดวยเหตุนี้จึงเกิดประเด็นปญหาตามมาอีกวา ในกรณีที่ผูมาขอรับ
บริการที่เปนเด็ก ซึ่งยังมีอายุไมครบ 20 ปบริบูรณนั้น ซึ่งตามกฎหมาย
ถือวายังไมบรรลุนิติภาวะ*
ทําใหเด็กถูกกําจัดสิทธิบางประการ โดยจะสามารถใหความยินยอม
ไดเอง หรือตองมีผูหนึ่งผูใดใหความยินยอมแทนหรือไมอยางไร
แมวาในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดบัญญัติไววา ใหทุกคน
ไมจํากัดเพศ อายุ การศึกษา ฐานะ ตองไดรับบริการทางดาน
การสาธารณสุขอยางเทาเทียมกัน ดังนั้น แมวาผูรับบริการจะเปนเด็กที่
ยังไมบรรลุนิติภาวะมาขอรับบริการจากสถานบริการดานสาธารณสุข
ก็ตองใหบริการโดยไมเลือกปฏิบัติแตเมื่อพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวของ
กับสภาพ สิทธิหนาที่ของบุคคลโดยตรง คือ ประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย ที่กําหนดขอบเขตอํานาจกระทําการใด ๆ ของผูเยาวไว
* : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1922
อยางชัดเจน คือ
“ ผูเยาว ( ผูอายุยังไมครบ 20 ปบริบูรณ ) ไมสามารถทํานิติกรรม
ใด ๆไดเอง ถาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม “
1
โดยการลงชื่อใหความยินยอมถือวาเปนการทํานิติกรรมอยางหนึ่ง
แตทั้งนี้กฎหมายไดเปดชองไววา
“ ผูเยาวสามารถกระทําการใด ๆอันเปนการเฉพาะตัวของผูเยาวได
เอง“
2
ดังนั้นจึงถือวา การขอรับบริการทางดานสาธารณสุขนั้น เปน
การเฉพาะตัวของผูเยาว โดยเปนไปตามขอกําหนดตามรัฐธรรมนูญที่
กลาวมาขางตน นอกจากนี้ตามคําประกาศสิทธิผูปวยไดกําหนดไววา
“ บิดามารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรมอาจใชสิทธิแทนผูปวยที่เปนเด็ก
อายุยังไมเกิน 18 ปบริบูรณ“
3
นั่นก็แสดงวา เด็กนั้นสามารถมารับ
บริการดานสาธารณสุขโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดย
ชอบธรรมได
เมื่อกฎหมายไดเปดชองไวเชนนี้ ทําใหเด็กที่มีอายุไมเกิน 20 ป
บริบูรณจึงสามารถลงชื่อใหความยินยอมในการรับบริการหรือใหบริการ
ของสถานบริการดานสาธารณสุขไดเอง โดยไมตองใหผูแทนโดย
ชอบธรรมยินยอมเสียกอน
แตในบางกรณีที่ตองทําหัตถกรรมพิเศษ เชน ผาตัด คลอดบุตร
การรักษากรณีที่วินิจฉัยแลวพบวาเปนโรครายแรง ถาไมใชกรณีเรงดวน
1 : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 21
2 : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 23
3 : คําประกาศสิทธิผูปวยขอที่ 10 23
หรือไมมีผูใดมีอํานาจใหความยินยอมไดการลงชื่อใหความยินยอม หรือ
เพิกถอนการรักษาจําตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน
เพราะถึงแมวากฎหมายจะเปดชองไวใหสําหรับเด็กก็ตาม แตในทาง
ปฏิบัติยังถือวา เด็กนั้นยังมีความรูสึกผิดชอบไมมากพอที่จะตัดสินใจใน
การกระทํา หรือยินยอม ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดเอง
ตามเหตุที่กลาวมาขางตน สามารถสรุปเปนแผนผังในหนาถัดไปได
ดังนี้24
ผูแทนโดยชอบธรรม
บิดา มารดา
จดทะเบียนสมรส
บิดา มารดา มีสิทธิใหความยินยอมไดทั้ง 2 คน
ไมจดทะเบียนสมรส
บิดาไมไดจดทะเบียนรับรองเด็กเปนบุตร
- ไมถือวาบิดาเปนผูแทนโดยชอบธรรมจึงไมมี
สิท ธิลงลายมือ ชื่อในเอกสารใด ๆ ที่เปน
การยินยอมใหผูเยาวทําการใด ๆ ทั้งสิ้น จึงตองให
มารดาเปนผูใหความยินยอมแทน ( ยกเวนการรับ
มรดก )
บิดาจดทะเบียนรับรองเด็กเปนบุตร หรือ ศาลพิพากษา
วาเด็กเปนบุตรของบิดาโดยชอบดวยกฎหมาย
- บิดาเปนผูแทนโดยชอบธรรมไดเชนเดียวกับ
มารดาของเด็ก จึงมีสิทธิลงลายมือชื่อในเอกสาร
ใด ๆเพื่อใหความยินยอมแกผูเยาวได
ผูปกครองที่มีอํานาจตามกฎหมาย
ผูที่ดูแลผูเยาวอยูในขณะนั้น
โดยชอบดวยกฎหมาย
( ใชในกรณีถาไมมีบิดามารดา หรือ
ผูปกครอง ภาษากฎหมายเรียกวา
ผูปกครองดูแล )
การรับบริการจากสถานบริการดานสาธารณสขของเด ุ ็ก ( อายุไมเกิน 20 ปบริบูรณ )
ตองคํานึงถึงคําประกาศสิทธิผูปวยเปนสําคัญเพื่อไมใหเกิดการขัดสิทธิของผูปวยที่
เปนเด็ก
ตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม*
- การทําผาตัด
- การรักษากรณีที่วนิจฉิ ัยแลวพบวาเปนโรค -
รายแรง
- การรักษาที่เกดจากการบาดเจ ิ ็บอยาง -
รุนแรง / สาหัส
- การทําหัตถกรรมพิเศษอื่น ๆ
ไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม - การรักษาอาการเลก็ ๆ นอยๆ หรือ อาการไม
รุนแรง
*: การรักษาใดที่จะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมหรือไมนั้น ใหขึ้นอยูกับดุลยพินิจ
ของทางคณะแพทยที่ไดทําการตรวจวินิจฉัยวาเปนอาการที่ตองไดรับการรักษาเปนกรณีพิเศษ
ตองไดรับการรักษาที่คอนขางซับซอน หรือ ตองมีการผาตัดหรือไม25
สวนหนึ่งของการดําเนินงานดานเวชระเบียน จําเปนตองใชขอมูลทาง
ทะเบียนราษฏรประกอบ เนื่องจากขอมูลดังกลาวนั้นเปนสิ่งหนึ่งที่ทําให
ทราบตัวบุคคล ภูมิลําเนา ถิ่นที่อยูของบุคคล ซึ่งทางงานเวชระเบียน
ถือวามีความสําคัญในระดับหนึ่ง โดยการดําเนินการที่เกี่ยวของกับขอมูล
ทางทะเบียนราษฏรที่สําคัญมีดังนี้
ตามพระราชบัญญัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ระบุไววา หญิงใดถาได
สมรสแลวใหเปลี่ยนจากคํานําหนาชื่อวา “ นางสาว “ เปน “ นาง “
หมายความวา ผูหญิงคนใด ( ตองเปนหญิงแท ) ไดทําการสมรสกับชาย
แลวใหใชคํานําหนาชื่อของหญิงวา “ นาง“ แทนการใช“ นางสาว“ซึ่ง
การสมรสนั้น ตองเปนการสมรสที่ถูก ตองตามกฎหมาย คือ
ตองจดทะเบียนสมรสกัน เนื่องจากตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยไดบัญญัติวา การสมรสตามกฎหมายใหมีไดแตเฉพาะ
การจดทะเบียนสมรสเทานั้น
แตในปจจุบันมีการเปลี่ยนทางสภาพสังคมอยางมาก สถานะภาพ
ของผูหญิงเริ่มมีบทบาทและเปนที่ยอมรับมากขึ้นในสังคม ทําใหมี
การเรียกรองถึงสิทธิบางประการที่ยังไมเทาเทียมกับฝายชาย หนึ่งในนั้น
คือ คํานําหนาชื่อ โดยองคกรที่เกี่ยวกับสตรีไดพยายามเรียกรองเพื่อ
ทวงสิทธิความเทาเทียมกันในสังคมที่หายไปของสตรีในเรื่องดังกลาว26
คืนมา
จนกระทั่งในป 2551 ไดมีการตราพระราชบัญญัติฉบับหนึ่งขึ้นมา
เพื่อปลดล็อคความไมเทาเทียมกันของสถานะภาพในสังคม คือ
พระราชบัญญัติคํานําหนานามหญิง พ.ศ. 2551 โดยพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 ซึ่งเนื้อหาของ
พระราชบัญญัตินี้เปนในเรื่องของคํานําหนานามหญิงโดยเฉพาะ มีหลัก
ดังนี้*
1. ผูหญิงซึ่งมีอายุครบ 15 ปบริบูรณขึ้นไปยังคงใหใชคํานําหนาชื่อ
เปน “ นางสาว“เหมือนเดิม
2. ผูหญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสแลวจะใชคํานําหนาชื่อเปน “ นางสาว“
หรือ“ นาง“ก็ได
3. ผูหญิงที่การสมรสสิ้นสุดลง จะใชคํานําหนาชื่อเปน “ นางสาว“
หรือ“ นาง“ก็ไดแลวแตจะเลือก
แตตองขอย้ําวา กฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใชเฉพาะผูหญิงที่ทํา
การสมรสกับชายโดยถูกตองตามกฎหมายคือ ตองจดทะเบียนสมรส
เทานั้น โดยถาอยูกินกันฉันทสามีภรรยาโดยไมมีการจดทะเบียนสมรสกัน
ยังคงใหใชคํานําหนาชื่อวา“ นางสาว“อยูเหมือนเดิม ไมมีสิทธิที่จะใช
คํานําหนาชื่อวา“ นาง“เหมือนกับผูหญิงที่ทําการสมรสโดยจดทะเบียน
สมรส
ทั้งนี้ถาจะมีการเปลี่ยนแปลงคํานําหนาชื่อ ตองแจงการเปลี่ยนแปลง
ใหนายทะเบียนทราบกอน จะทําการเปลี่ยนแปลงเองโดยพลการไมได
* : พระราชบัญญัติคํานําหนานามหญิง พ.ศ. 2551 มาตรา 4 , 5 , 627
เพราะมีผลตอความสัมพันธในเรื่องของสิทธิในครอบครัวเชน อํานาจ
ปกครองบุตร มรดก หรือ สิทธิตาง ๆระหวางสามีภรรยา เปนตน
สวนชายจริง หญิงไมแทไมสามารถมาขอเปลี่ยนคํานําหนาชื่อจาก
“ นาย“เปน “ นางสาว“ หรือ“ นาง“ไดเพราะยังไมกฎหมายฉบับใดที่
เปดชองใหกระทําได
แตถาหลักฐานทางทะเบียนราษฎรกับขอมูลที่ผูมาขอ
รับบริการแจงไมตรงกันในเรื่องของคํานําหนานามหญิง
จะทํา อยางไร ??
หากเกิดกรณีของคํานําหนานามหญิงในหลักฐานทางทะเบียนราษฎร
ไมตรงกับที่ผูมาขอรับบริการแจงกับเจาหนาที่ ในการกรอกขอมูลใน
เวชระเบียนใหยึดตามที่ปรากฏอยูในหลักฐานทางทะเบียนราษฎร
เปนหลัก ( ใหยึดเปนหลักใชในเรื่องนามสกุลดวย )
จากที่กลาวมาทั้งหมดสามารถสรุปเปนแผนผังไดดังนี้
ชาย
หญิง
ยังไมสมรส และ
อายุ 15 ปขึ้นไป
นางสาว
สมรส
จดทะเบียนสมรส
จะใช “นางสาว” หรือ “นาง” ก็ได
การสมรสสิ้นสุดลง
ตาย
จดทะเบียนหยา
**( ตองแจงตอนายทะเบียน ) **
ไมจดทะเบียนสมรส28
2.1 นามสกลของหญ ุ ิง
แตเดิมนั้น หญิงใดทําการสมรสถูกตองตามกฎหมาย คือ แตงงาน
โดยจดทะเบียนสมรส ใหหญิงนั้นใชนามสกุลของสามี ตอมาไดมี
การแกไขพระราชบัญญัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ใหผูหญิงคนใดก็ตามที่
จดทะเบียนสมรสกับชายอื่นมีสิทธิที่จะใชนามสกุลของตน หรือ นามสกุล
ของสามี หรือ นามสกุลทั้งของตนเองและของสามีไปพรอมกันได
( ขอยกตัวอยางเฉพาะนามสกุลเทานั้น อยาสับสนในเรื่องของคํานําหนา
ชื่อ ) เชน
น.ส.สมหญิง สวยหยด จดทะเบียนกับ นายสมชาย หลอหมดจด
ถาเปนกฎหมายเกา น.ส.สมหญิงตองใชนามสกุลดังนี้
“ นางสมหญิง หลอหมดจด “
แตถาเปนกฎหมายใหม น.ส.สมหญิง สามารถใชนามสกุลไดอยางใด
อยางหนึ่งดังนี้
“ นางสมหญิง หลอหมดจด “
“ นางสมหญิง สวยหยด “ ...หรือ...
“ นางสมหญิง สวยหยด หลอหมดจด “
แตถาแตงงานโดยไมจดทะเบียนสมรส ผูหญิงคนนั้นยังคงตองใช
นามสกุลเดิมของตนเอง เชนตัวอยางขางตน น.ส.สมหญิง
สวยหยด ก็ยังคงตองใชนามสกุล สวยหยด อยูเชนเดิม
2.2 นามสกลของเด ุ ็กแรกเกิด
เมื่อเด็กเกิดมาลืมตาดูโลกและมีชีวิต มีลมหายใจ ตามกฎหมายแลว29
ถือวาเด็กนั้นเริ่มสภาพบุคคล * สามารถมีสิทธิหนาที่ตางๆไดเทาที่
กฎหมายกําหนด ซึ่งสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของสิทธิที่เด็กทุกคนจะไดรับคือ
นามสกุล
นามสกุล เปนตัวบอกสถานะของเด็กไดวาเปนบุตรของใคร ใครมี
อํานาจปกครอง และอาจมีผลถึงการรับมรดกของเด็กจากเจามรดกที่ถึง
แกความตาย ไมวาจะเปนการรับมรดกทางพินัยกรรม หรือการที่เปน
ทายาทโดยธรรมก็ตาม ซึ่งสามารถสรุปหลักในการใชนามสกุลของเด็กได
ดังนี้
กรณีที่ 1 บิดา - มารดาของเด็กไมจดทะเบียนสมรสกัน
เด็กที่เกิดจากบิดา - มารดากรณีนี้ตามกฎหมายเรียกวา
บุตรนอกสมรส หรือ บุตรนอกกฎหมาย ซึ่งถือวาบิดาของเด็กนั้นยังไมเปน
บิดาที่ชอบดวยกฎหมาย โดยบิดาสามารถมีสิทธิที่จะฟองไมรับหรือรับ
เด็กบุตรของตนไดหรือ เด็กสามารถฟองวาชายผูนั้นไมใชบิดาของตนได
ทําใหสถานะของเด็กกับบิดาเด็กยังไมแนนอนซึ่งสามารถเกิดเหตุการณ
ผันแปรไดตลอดเวลาจนกวาจะเลยระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไว ทําให
บิดาสามารถที่จะไมใหหรือใหเด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแลเลี้ยงดูจากตน
หรือในเรื่องที่เกี่ยวกับมรดกของตนได
ดังนั้นในการใชนามสกุลของเด็กนั้นใหใชนามสกุลของมารดา
เด็ก ถาจะใสชื่อนามสกุลของบิดาเด็กตองไดรับความยินยอมจากบิดาเด็ก
กอน ซึ่งอาจใหความยินยอมดวยวาจาโดยไมตองทําเปนหนังสือก็ไดและ
ถาบิดาเด็กเปนคนแจงเกิดเองก็ยิ่งทําใหการบันทึกนามสกุลของเด็กใน
หลักฐานทางเวชระเบียนนั้นงายขึ้น
* : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1530
แตหากบิดาไมยินยอมใหใชนามสกุล หรือ ปฏิเสธการรับเลี้ยง
หรือไมรับวาเด็กเปนบุตรของตน ใหใชนามสกุลของมารดา หรือญาติ
ทางมารดาของเด็กไดโดยที่ญาติของมารดาเด็กไดใหความยินยอมเปน
หนังสือแลว
กรณีที่ 2 บดาิ - มารดาของเด็กจดทะเบียนสมรสกนั
เด็กสามารถใชนามสกุลของทั้งบิดา หรือมารดาไดโดยไม
ตองไดรับความยินยอมจากใคร สุดแตที่บิดา - มารดาเด็กจะเลือกวา
จะใหใชนามสกุลของใคร เนื่องจากเด็กที่เกิดจากบิดา - มารดา
จดทะเบียนสมรสกัน ถือวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ซึ่งเด็กจะมีสิทธิ
ที่ดีกวาในกรณีที่ 1
ทั้ง 2 กรณีสามารถสรุปเปนแผนผังไดดังนี้
นามสกุลของเด็ก
บิดา - มารดา
ไมไดจดทะเบียนสมรสกัน
บิดา - มารดา
จดทะเบียนสมรสกัน
ใชนามสกุลของมารดา
ใชนามสกุลของบิดา
ตองไดรับความยินยอม
จากบิดาเปนหนังสือ
ใชนามสกุลของบิดาหรือ
มารดาก็ได31
สัญชาติถือเปนสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของขอมูลทางทะเบียนราษฏร
โดยในปจจุบันมีคนงานตางดาวเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวน
มาก ซึ่งในบางครั้งไดมาสมรสสมรักกับคนไทย แลวมีลูกดวยกัน ทําใหมี
ปญหาวา เด็กที่เกิดมาจะมีสัญชาติอะไร??
ยิ่งซ้ําราย พบวา มีคนไทยบางคนถึงขั้นรับจางเปนพอของเด็ก หรือ
แมของเด็ก โดยเขาใจวา ถาพอ หรือ แมเปนคนไทย เด็กที่เกิดมาจาก
คนตางดาวจะไดรับสัญชาติไทย
เหตุที่ตองใหความสําคัญกับสัญชาติกับงานขอมูลเวชระเบียนนั้นก็คือ
เรื่องของสิทธิเบิกคารักษาพยาบาล รวมถึงสิทธิตางๆของเด็กจะไดรับ
หลักกฎหมายในเรื่องของสัญชาตินั้นกําหนดอยูในพระราชบัญญัติ
สัญชาติไทย พ.ศ. 2508 ซึ่งไดมีการปรับปรุงแกไขเมื่อปพ.ศ. 2535 โดยมี
หลักดังนี้
การไดมาซึ่งสัญชาติไทยของเด็ก มี 2 วิธีคือ
1.) หลักสืบสายโลหิต : มี 2 กรณี
กรณีที่ 1 บิดาเปนสัญชาติไทย แตมารดาเปนคนตางดาว
- เด็กที่เกิดมาจะไดสัญชาติไทยก็ตอเมื่อ บิดาและมารดา
จดทะเบียนสมรสกันถูกตองตามกฎหมาย หรือ บิดาจดทะเบียน
รับเด็กเปนบุตรตามกฎหมายเทานั้น
กรณีที่ 2 บิดาเปนคนตางดาว แตมารดาเปนสัญชาติไทย
- เด็กที่เกิดมาจะไดสัญชาติไทย เนื่องจากตามหลักกฎมาย
ถือวาเด็กที่เกิดมาเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของมารดาดวย32
หลักสายโลหิต ทั้งนี้ไมวามารดาจะจดทะเบียนกับบิดาเด็กหรือไม
2.) หลักดินแดน : ผูที่เกิดในประเทศไทยยอมไดรับสัญชาติไทย
เวนแตผูที่เกิดในประเทศไทยโดยบิดา หรือมารดาเปนคนตางดาวและใน
ขณะที่เกิด บิดา หรือ มารดาของผูนั้นเปน
2.1) ผูที่ไดรับการผอนผันใหพักอาศัยอยูในราชอาณาจักรไทยเปน
กรณีพิเศษเฉพาะราย
2.2) ผูที่ไดรับอนุญาตใหเขาอยูในราชอาณาจักรไทยเพียงชั่วคราว
2.3) ผูที่ไดเขามาอยูในราชอาณาจักรไทยโดยไมไดรับอนุญาตตาม
กฎหมายวาดวยคนเขาเมือง
2.4) หัวหนาคณะผูแทนทางทูตหรือเจาหนาที่ในคณะผูแทนทางทูต
2.5) หัวหนาคณะผูแทนทางกงสุลหรือเจาหนาที่ในคณะผูแทน
ทางกงสุล
2.6) พนักงานหรือผูเชี่ยวชาญขององคการระหวางประเทศ
2.7) คนในครอบครัวซึ่งเปนญาติอยูในความอุปการะ หรือ คนใชซึ่ง
เดินทางมาจากตางประเทศมาอยูกับบุคคลในขอ 2.4 – 2.6
ดังนั้นหากเปนแรงงานตางดาว ก็จัดอยูในขอยกเวนของหลักดินแดน
ที่ไมสามารถเอาเรื่องดินแดนมากลาวอางไดวา ลูกของตนเกิดบนแผนดิน
ไทย ยอมไดสัญชาติไทย อีกทั้งยังเปนการขัดกับหลักสายโลหิตดวย
ขางตน33
ในบางครั้งประชาชน หนวยงาน หรือองคกรตางๆจําเปนตองใช
ขอมูลหรือเอกสารทางดานเวชระเบียน เพื่อไปประกอบการดําเนินการ
หรือปฏิบัติตามหนาที่ใด ๆแตดวยติดที่วา ขอมูลทางดานเวชระเบียน
จัดเปนขอมูลเฉพาะบุคคลหรือขอมูลสวนตัว ดังนั้นในการที่จะทํา
การเปดเผย สงมอบขอมูล หรือเอกสารดังกลาวจะตองเปนไปดวย
ความรอบคอบระมัดระวัง อีกทั้งในปจจุบันไดมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับ
ทางขอมูลเวชระเบียนอยู คือ พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ พ.ศ. 2540 และ พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2550 เจาหนาที่ก็ยิ่งตองตระหนักในเรื่องดังกลาวใหมากขึ้นไป
กวาเดิม เพราะหากมีการเผยแพรออกไปใหกับผูที่ตองการแสวงหา
ผลประโยชนจากขอมูล ก็อาจจะเกิดเหตุการณที่ไมคาดคิดตอผูเปน
เจาของขอมูลไดโดยไมรูตัว อีกทั้งยังถือวาเจาหนาที่ไดกระทําผิดกฎหมาย
ดวย
ดังนั้นหลักเกณฑของการเปดเผยขอมูลดานเวชระเบียนแบงออกได
เปน 2 กรณีคือ
เนื่องจากในปจจ ุบันไดมีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550
ออกมาบังคับใชโดยมีขอบญญั ัติอยูตอนหนงวึ่ า
กรณีททางหน ี่ วยงานของรัฐเปนผูมาขอขอมูลหรือเอกสาร34
“ ขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เปนความลับสวนบุคคล
ผูใดจะนําไปเปดเผยในประการที่นาจะทําใหบุคคลนั้นเกิดความเสียหาย
ไมได เวนแตการเปดเผยนั้นเปนไปตามความประสงคของบุคคลนั้น
โดยตรง หรือ มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติใหตองเปดเผย แตไมวากรณีใด ๆ
ผูใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของ
ราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับขอมูลดานสุขภาพของ
บุคคลที่ไมใชของตนไมได“*
จากบทบัญญัติของกฎหมายขางตนทําใหเห็นขอมูลดานสุขภาพของ
บุคคลนั้นถือวาเปนความลับซึ่งไมสามารถเปดเผยได
แตในบางกรณีนั้นหนวยงานของรัฐก็มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง
ใชขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เพื่อใชประกอบการพิจารณาตางๆเชน
การพิจารณาเงินคาทดแทนตามกฎหมายเงินคาทดแทน การนั่งพิจารณา
คดีของศาล การสืบสวน สอบสวนพยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน
เปนตน จึงทําใหเกิดปญหาวา ขอมูลดานสุขภาพที่ถือวาเปนความลับ
อันตองหามตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550
จะสามารถเปดเผยใหกับทางหนวยงานของรัฐที่ประสงคจะขอขอมูล
ดังกลาวกับทางสถานบริการสาธารณสุขไดหรือไม
เมื่อพิจารณาดวยขอบัญญัติตามกฎหมายตางๆ บางฉบับพบวามี
การใหอํานาจของเจาพนักงานในการที่จะเรียกขอมูลตางๆจากหนวยงาน
ของรัฐอื่น ๆไดเชน อํานาจของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนตาม
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 บัญญัติใหคณะกรรมการ
กองทุนเงินทดแทนมีอํานาจสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของสงเอกสารหรือขอมูลที่
* : พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 มาตรา 735
จําเปนมาพิจารณาได* และในการปฏิบัติตามหนาที่ตามพระราชบัญญัติ
เงินทดแทน พ.ศ. 2537 ดังกลาวใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจในการมี
หนังสือสอบถาม หรือ เรียกบุคคลที่เกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือ ใหสง
เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ หรือ สิ่งอื่นที่จําเปนมาเพื่อประกอบ
การพิจารณา
แตในระหวางโรงพยาบาล หรือ คณะแพทยที่ทําการรักษาจะขอ
ขอมูลดังกลาวไดจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน
เพราะวาไมมีกฎหมายใดใหอํานาจไวแมแตพระราชบัญญัติขอมูล
ขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ก็ตาม เนื่องจากวามีพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ไดกําหนดหามมิใหยกอํานาจ หรือสิทธิตาม
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ขึ้นมาอางสิทธิใน
การขอขอมูลสุขภาพดังกลาวไดเวนแตกรณีที่มีความจําเปนและฉุกเฉิน
อ ยางยิ่งในการที่ตองใชขอมูลเวชระเบียนเพื่อประโยชนใ น
การรักษาพยาบาล
ดังนั้นตามอํานาจทางกฎหมายนั้นถือไดวา เจาพนักงานมีอํานาจใน
การขอดูเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของเพื่อใชประกอบการพิจารณา แมจะ
เปนไปโดยขัดสิทธิสวนบุคคลก็ตาม โดยถือวาบทบัญญัติการใหอํานาจ
ดังกลาวเปนสิ่งที่ทําใหการบังคับใชกฎหมายนั้น ๆ ใหสมบูรณ
( คําวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 469/2545 สิงหาคม 2545 )
ดวยเหตุนี้ หนวยงานของรัฐสามารถขอดูขอมูลเวชระเบียนไดโดย
ไมตองขออนุญาตตอทางเจาของขอมูลกอน แตตองมีกฎหมายใหอํานาจ
เชนนั้นไวอยางชัดเจน และโดยเฉพาะตองเปนประการที่ไมทําใหเกิด
* : พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 57 (2)36
ความเสียหายแกผูเปนเจาของขอมูล *
จากที่กลาวมาแลวขางตน การเปดเผยขอมูลดานสุขภาพที่บันทึกไว
ในเวชระเบียนจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน ดังนั้น
การที่ทางประชาชน หรือองคกรเอกชน จะทําการขอขอมูล หรือเอกสาร
ไดจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเปนลายลักษณอักษร เชน
บริษัทประกันชีวิตจะมาขอขอมูลสุขภาพจากทางสถานพยาบาล
เนื่องจากเจาของขอมูลมาทําประกันชีวิตกับทางบริษัท ฯ และทาง
บริษัท ฯจําเปนที่จะตองทําการตรวจขอมูลกอนเพื่อปองกันการหลอกลวง
ในการทําสัญญาประกันชีวิตจากการที่ผูมาขอทําประกันจะจาย
เบี้ยประกันนอยลงกวาที่เปนอยูทั้งที่ตนจะตองจายเบี้ยประกันที่สูงกวานั้น
ถาไมมีหนังสือยินยอมมาจากเจาของขอมูล ทางสถานพยาบาลก็
ไมสามารถใหขอมูลกับทางบริษัท ฯไดเปนตน
สรุปแลวการใหความยินยอมที่จะเปดเผยขอมูลดานสุขภาพนั้นตอง
ไดรับความยินยอมจากผูที่เปนเจาของขอมูลโดยทําเปนลายลักษณอักษร
( ทําเปนหนังสือ ) ไวหรือ ถาเปนเจาของขอมูลมาขอเองก็ตองมีหลักฐาน
ที่สามารถยืนยันถึงสถานะ สภาพตัวบุคคล ความสัมพันธระหวางบุคคล
ไดอยางชัดเจน จึงจะเปนหลักฐานการยืนยันที่ดีที่สุด
* : ปจจุบันยังคงเปนขอเถียงกันอยูในประเด็นนี้แตอยางไรก็ตามใหยึดถือตามคําวินิจฉัยของ
คณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 469/2545 สิงหาคม 2545 ไปกอน จนกวาจะมีการวินิจฉัยเปลี่ยนแปลงใน
ประเด็นดังกลาวตอไป ยกตัวอยางเชน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ใหอํานาจแก
เจาพนักงานที่จะขอขอมูลตางๆ อยางชัดเจน
กรณีททางประชาชน ี่ , องคกรเอกชน ขอขอมูลหรอเอกสาร ื37
ในบางกรณีที่ผูเปนเจาของขอมูลหรือผูมีอํานาจในการขอขอมูลหรือ
เอกสารเวชระเบียนนั้นไมมีหลักฐานที่สามารถระบุความถูกตองของ
ตัวบุคคลไดเนื่องจากสูญหาย หรือถูกทําลาย ยกตัวอยางเชน
1.) มาขอใบสูติบัตร เนื่องจากทําใบสูติบัตรหาย โดยปรากฏวา
ทางสถานพยาบาลไมมีหลักฐานหลงเหลือเพื่อมายืนยันวาผูที่มาขอขอมูล
เปนเจาของขอมูลจริง ซึ่งเปนเพราะวาระยะเวลานานมากแลวทําให
เอกสารนั้นสูญหาย
2.) มาแจงเกิดแลวแจงชื่อบิดาเปนชื่อเลน เวลามาขอใบสูติบัตร
กลับมาแจงชื่อบิดาเปนอีกชื่อหนึ่ง ซึ่งผูมาแจงอางวาเปนชื่อจริงของตน
ตามบัตรประจําตัวประชาชน แตที่ระบุไวในหลักฐานที่ทางสถานพยาบาล
เก็บไวเปนชื่อเลน โดยชื่อทั้งสองเปนของคน ๆเดียวกัน เปนตน
จากตัวอยางขางตนดังกลาว ทําใหการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เกิด
ปญหาขึ้นมาไดแมวาผูที่มาขอขอมูลจะยืนยันวาตนเปนเจาของขอมูลที่
แทจริงก็ตาม แตเจาหนาที่ก็ไมสามารถใหขอมูลหรือเอกสารไดเนื่องจาก
ไมมีเอกสารหลักฐานที่เจาหนาที่ไดเก็บไวมายืนยันกลับไป
และดวยเหตุที่วาหลักฐานทางเวชระเบียนเหลานี้มีความจําเปนตอ
การติดตอกับหนวยงานราชการ การสมัครงาน การเขาศึกษาตอใน
ทุกระดับชั้น การทําประกันชีวิต จนถึงการรักษาพยาบาล ซึ่งผูที่มาขอ
ขอมูล หรือเอกสารเวชระเบียนนั้นจําเปนตองใชและทางเจาหนาที่ก็ไม
สามารถใหไดดวยเหตุผลตามที่กลาวมาแลว แตปญหาทุกอยางมี
ทางออก จึงสามารถสรุปแนวทางการแกไขปญหาไดดังนี้
กรณีที่ผูมาติดตอ ฯ ทําหลักฐานบางอยางสูญหาย หรือ นํามาไมครบ38
1. หลักฐานที่สามารถระบุตัวบุคคลไดชัดเจน คือ
1.1 บัตรประจําตัวประชาชน
1.2 บัตรประจําตัวขาราชการ
1.3 บัตรประจําตัวพนักงานรัฐวิสาหกิจ
1.4 บัตรประจําตัวผูขับขี่รถ หรือ บัตรใบอนุญาตขับขี่
1.5 หรือบัตรประจําตัวอื่น ๆ ที่มีเลขประจําตัวประชาชน
13 หลัก ( แตตองมีการตรวจสอบใหแนชัดเสียกอน
วาขอมูลมีความถูกตอง เพราะสวนใหญเวลาติดตอ
ราชการมักจะไมนิยมใชเปนเอกสารหลักฐาน -
อางอิง )
2. หลักฐานที่สามารถระบุความสัมพันธระหวางบุคคล
ไดชัดเจน คือ
2.1 กรณีที่มีการสมรสกันถูกตองตามกฎหมาย คือ
มีใบสําคัญแสดงการสมรสหรือ ทะเบียนสมรส
2.2 กรณีที่ไมมีการจดทะเบียนสมรสกันถูกตองตาม
กฎหมาย หรือเอกสารดังกลาวเกิดการสูญหายไป : ใหใชเอกสาร
อยางหนึ่งอยางใด หรือ หลายอยางแลวแตกรณีดังนี้
2.2.1 กรณีที่เกิดการสูญหายตองมีใบสําเนาการแจง -
ความจากสถานีตํารวจมาแนบประกอบดวย เพราะ
เปนการยืนยันวาเอกสารไดสูญหายจริง เพราะวาถา
ไมจริงผูที่อางก็จะมีความผิดฐานแจงความเท็จ โดย
ถือวาทางเจาหนาที่ผูใหขอมูลไปไดกระทําโดยใช
ความระมัดระวังอยางดีที่สุดแลว หากเกิด39
ขอผิดพลาดเปนประการใด ก็ไมมีผลตอ
เจาหนาที่
2.2.2 หนงสั ือรับรองวาเปนสาม - ี ภรรยากันจริง โดย
ใหเจาพนักงานฝายปกครองเปนผูออกหนังสือ
รับรองใหคือ ผูใหญบาน หรือ กํานันที่อยูใน
พื้นที่เดียวกันกับผูที่อาง
2.2.3 หนงสั ือรับรองการศึกษาจากสถานศึกษาของ
ผูที่อางระบุวาไดศึกษาอยูที่สถานศึกษานี้จริง
2.2.4 ใบจดทะเบียนรับเด็กเปนบุตร ทงเปั้ นบ ุตรที่
นอกสมรส หรือ บุตรบุญธรรม
2.2.5 หนงสั ือรับรองวาเด็กเปนบ ุตร โดยให
เจาพนักงานฝายปกครองเป นผ ูออกหนังสอื
รับรองให คือ ผูใหญบาน หรือ กานํ นั ที่อยู
ในพื้นที่เดียวกับผูที่อาง ยกตัวอยางเชน
นายซอนกลิ่น อยูที่หมูบานกระโดง จ.ราชบุรีมาขอรับใบสูติบัตรกับ
ทางโรงพยาบาล แตอางวาไดทําเอกสารดังกลาวสูญหายไป โดยมี
ความประสงคที่จะนําใบสูติบัตรดังกลาวไปดําเนินการเอาชื่อบุตรของตนที่
มีอายุ 18 ปเขาทะเบียนบาน รวมทั้งทําบัตรประจําตัวประชาชนของ
บุตรดวย แตปรากฎวา ทางโรงพยาบาลไมมีหลักฐานดังกลาวอยูเลย
เพราะไดสูญหายไป จะทําประการใด
คําตอบคือ 1. ตองใหนายซอนกลิ่นไปแจงความเพื่อลงบันทึก
ประจําวันวาเอกสารดังกลาวไดสูญหายไป40
2. ใหนายซอนกลิ่นไปขอหนังสือรับรองวาตนเปนบิดา
ของเด็กจริง จากผูใหญบาน หรือกํานันของหมูบานกระโดง
3. ใหนายซอนกลิ่นไปขอหนังสือรับรองการศึกษาจาก
สถานศึกษาที่บุตรของตนไดเขารับการศึกษาครั้งลาสุด
3. การลงลายมือชื่อ
3.1 ถาใชการพิมพลายนิ้วมือ ตราประทับ เครื่องหมาย
อยางใดอยางหนึ่ง หรือ แกงได * แทนการลงลายมือชื่อจะตองมีพยาน
ลงลายมือชื่อรับรองลายพิมพนิ้วมือ หรือเครื่องหมายนั้น อยางนอย 2 คน
และสามารถถือวาพยานที่รับรองลายพิมพนิ้วมือหรือเครื่องหมายนั้นเปน
พยานรับรองเอกสารไปไดทีเดียว
3.2 ถาใชลายมือชื่อ ไมจําเปนตองมีพยานรับรอง
ลายมือชื่อคงจะมีแตเฉพาะพยานรับรองเอกสารเทานั้น
ดังนั้น ผูที่จะมาขอขอมูลทางเวชระเบียนจะตองมีหลักฐานที่
ใชยืนยันสถานภาพของตนเองใหชัดเจน หรือถาเปนผูอื่นมาขอขอมูลก็
ตองมีหนังสือยินยอมโดยตองทําเปนลายลักษณอักษร ( ทําเปนหนังสือ )
ซึ่งตรงจุดนี้ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองใชความรอบคอบ และ
ระมัดระวังเปนอยางมาก เพื่อปองกันปญหาที่จะตามมาใน
ภายหลัง
* : แกงได คือ รอยกากบาท รอยขีดเขียน ซึ่งคนไมรูหนังสือขีดลงไวเปนสําคัญใน
เอกสารหรือสัญญาตางๆ ( แตไมใชลายเซ็น)41
1. อนุสัญญาวาด วยสิทธิเด็ก ขอมูลจาก www.rakdek.or.th เมื่อวันที่
24 ตุลาคม 2552
2. แนวทางการสรุปเวชระเบียน โดย นายแพทยไชยยศ ประสานวงศ
ขอม ูลจาก www.med.cmu.ac.th เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2550
3. อนุสัญญาวาด วยสิทธิเด็ก ขอมูลจาก www.unicef.org เมื่อวันที่
24 ธันวาคม 2550
4. คําประกาศสิทธิผูปวย ขอมูลจาก www.elib-online.com เมื่อวันที่
25 ธันวาคม 2551
5. พระราชบญญั ัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ขอมูลจาก www.thaibar.thaigov.net
เมอวื่ ันที่ 26 ธันวาคม 2551
6. บทความพิเศษ เรื่องเวชระเบียน โดย ณฐั ตันศรีสวัสดิ์ภาควิชานิติเวช -
ศาสตรคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณหมาวิทยาลัย ขอมูลจาก
www.md.chula.ac.th เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2551
7. กฎหมายสัญชาติขอมูลจาก www.lawanwadee.com เมื่อวันที่
19 ตุลาคม 2551
8. ธีระพล อรณะกส ุ ิกรและคณะ.พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทาง -
ราชการ พ.ศ. 2540.กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,พ.ศ. 2549.
9. ธีระพล อรณะกส ุ ิกรและคณะ.พระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาที่ไมเปน-
ธรรม พ.ศ. 2540.กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,2549.
10. ธีระพล อรุณะกสิกรและคณะ.พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2550.กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,2549.
11. คณะวชาการ ิ Justice Group.ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
(ฉบับปจจบุ ัน).กรุงเทพ ฯ : บริษัท พีรภาส จํากัด,2549
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/data/env/law/knowledge/opd_handbook.pdf
ซึ่งกฎหมายที่สําคัญๆ มีดังนี้
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2550 )
รัฐธรรมนูญถือว่าเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายที่
กําหนดแนวทาง ขอบเขต สิทธิเสรีภาพ อํานาจ หน้าที่ของทั้งบุคคล
ทั่วไปหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรต่างๆในประเทศไทย
ซึ่งทุกคนต้องปฏิบัติตาม โดยมีหลักอยู่ว่า ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
ซึ่งมีบัญญัติไว้อย่างชัดเจน ดังนี้
มาตรา 30 วรรคหนึ่ง “ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและ
ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมี
สิทธิเท่าเทียมกัน“
มีความหมายว่า บุคคลทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในทุกเรื่องไม่ว่า
จะเป็นสิทธิการศึกษา สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และนอกจากนี้ยังได้
มีการกําหนดความคุ้มครองสิทธิต่างๆของ บุคคลไว้ด้วย โดยเฉพาะ
ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูลการเงิน เป็นต้น โดยเฉพาะข้อมูลด้านสุขภาพ
นั้นถือได้ว่ามีความสําคัญอย่างมาก ซึ่งในกฎหมายรัฐธรรมนูญได้กําหนด5หลักไว้ว่า
“ การกล่าว หรือ ไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่า
ด้วยวิธีใดไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบสิทธิของ
บุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว
จะกระทํามิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ อีกทั้ง
บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงหาประโยชน์
โดยมิชอบจากข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตน ทั้งนี้ตาม
ที่กฎหมายบัญญัติ “ *
จากหลักที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญดังกล่าวจะเห็นว่ามี
ส่วนเกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียนอยู่ ในเรื่องของข้อมูลในเวชระเบียนนั้น
ถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถเปิดเผยได้ไม่ว่าจะเป็นของชายหรือ
หญิง เว้นแต่มีเหตุจําเป็น ซึ่งกฎหมายรัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองไว้
อย่างชัดเจน
2. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
เป็นกฎหมายที่ออกมาเพื่อให้เกิดการดูแลรักษาด้านสุขภาพของ
ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน อีกทั้งต้องได้รับการดูแลเป็น
อย่างดีด้วย เพราะตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้
บัญญัติไว้ในเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจน ตามมาตรา 56 , 76 และ มาตรา 82
รวมทั้งเป็นการสร้างแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในเรื่อง
การให้บ ริการด้านการสาธารณสุข ทั้งทางด้านข้อ มูลและ
การรักษาพยาบาลรวมถึงการวิจัยทางการแพทย์
โดยก่อนที่จะทราบว่าพระราชบัญญัติดังกล่าวมีความเกี่ยวข้อง
* : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2550 ) มาตรา 35 6
กับงานเวชระเบียนอย่างไร ควรจะทราบถึงขอบเขตของกฎหมายฉบับนี้
ก่อนว่ามีอะไรบ้าง
ขอบเขตของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550 มีดังนี้
1.) สิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพ ได้แก่
- การให้ความยินยอมรับการบริการสาธารณสุขของ
ผู้รับบริการ
- การเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล
- การมีสทธิ รับทราบข ้อเท็จจริงการให้บริการสาธารณสุข
- ลักษณะวิธีปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือบุคลากร
ทางด้านสาธารณสุข
2.) อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
3.) อํานาจหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
4.) สมัชชาสุขภาพ
5.) ธรรมนูญว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติซึ่งกำหนดขอบเขต
สาระสําคัญว่าต้องประกอบด้วยเรื่องอะไรบ้าง โดยธรรมนูญ
นถี้ือได้ว่ามีลําดับศั ักดิ์ทางกฎหมายรองลงมาจากรัฐธรรมนูญ
แตกต่างกันตรงที่ว่า อํานาจของกฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นจะใช้
กับทางเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งโดยต้องอยู่ภายในขอบเขตของ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
เมื่อพิจารณาขอบเขตที่กล่าวข้างต้นแล้วพบว่า ส่วนที่เกี่ยวข้อง
ใกล้ชิดกับงานเวชระเบียนมากที่สุดคือ เรื่องของสิทธิด้านสุขภาพ
โดยเฉพาะในเรื่องของข้อมูลด้านสุขภาพและการให้ความยินยอมใน
การรับบริการสาธารณสุข7
เนื่องจากข้อมูลด้านสุขภาพเป็นข้อมูลของสุขภาวะ ประวัติ
สุขภาพ ประวัติการรับการรักษาพยาบาล ซึ่งจัดได้ว่าเป็นความลับ
ส่วนบุคคล มีความสําคัญทั้งทางการแพทย์และทางด้านการจัดการ
งานต่างๆ โดยยังอาจมีความสําคัญต่อชีวิตได้เช่น ในเรื่องปัญหาของ
การรับมรดกเอง หรือเป็นเจ้ามรดก หรือ รับสิทธิต่างๆอันพึงมีพึงได้
ของผู้ที่เป็นเจ้าของข้อมูล ส่วนจะสําคัญมากน้อยแค่ไหนจะกล่าวให้ทราบ
ในภายหลัง และยังมีในเรื่องของการให้ความยินยอมรับการบริการฯ ด้วย
ก็เช่นกัน เพราะปัจจุบันมีปัญหาร้องเรียน หรือแม้แต่ฟ้องร้องเป็นคดี
ความขึ้นสู่ศาลกันมากมายหลายคดีและมีหลายคดีที่ทางสถานบริการ
ด้านการสาธารณสุข หรือบุคลากรด้านการสาธารณสุขเองต้องตกเป็น
ฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ สืบเนื่องมาจากการที่ขาดหลักฐานเอกสารต่างๆ
มายืนยัน เพราะส่วนใหญ่มักจะอ้างว่า สถานบริการด้านการสาธารณสุข
หรือ บุคลากรด้านการสาธารณสุขให้การรักษาที่ไม่ถูกต้องและประมาท
เลินเล่อ โดยผู้รับบริการไม่อาจโต้แย้งหรือคัดค้านได้เลย จึงจําเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องมีการแจ้งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการให้โอกาสแก่
ผู้รับบริการที่จะตัดสินใจรับหรือไม่รับบริการดังกล่าวได้ ทําให้ต้องมี
เอกสารในการยินยอมรับการบริการด้านการสาธารณสุขประกอบกับ
เอกสารอื่น ๆ ในงานเวชระเบียนด้วย
สรุปแล้วปัจจุบันจึงมีพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
ออกมาเพื่อคุ้มครองทั้งผู้มาขอรับบริการสาธารณสุข สถานบริการ
ด้านการสาธารณสุข และ บุคลากรด้านการสาธารณสุขในเรื่องดังกล่าว8
3. พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
เหตุที่พระราชบัญญัติฉบับนี้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
งานด้านเวชระเบียน ก็เพราะว่าตามที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2550 ได้กําหนดขอบเขตไว้ว่า บุคคลใดก็ตามที่มาขอรับบริการ
สาธารณสุข หรือ จะถูกใช้ในงานวิจัยทางด้านสาธารณสุข ต้องให้
ความยินยอม หรือ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้มาขอรับบริการ
ตามลําดับ รวมทั้งผู้มาขอรับบริการมีสิทธิได้รับทราบข้อเท็จจริงใด ๆ
ก่อนที่ทางสถานบริการฯจะให้บริการด้วย จึงต้องมีการทําหนังสือ
ยินยอม หรือ ไม่ยินยอมรับบริการสาธารณสุขขึ้น เพื่อให้เป็นไปตาม
บทบัญญัติในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
โดยหนังสือยินยอมดังกล่าวจัดว่าเป็นนิติกรรมสัญญารูปแบบหนึ่ง
ซึ่งอาจระบุข้อความใด ๆอันเป็นเงื่อนไข หรือ ความตกลงไว้ในหนังสือ
ยินยอมดังกล่าวได้ ทั้งนี้ในบางกรณีอาจจะไม่เป็นธรรมแก่คู่กรณี
อีกฝ่ายหนึ่ง เช่น มีข้อความว่าหากเกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ผู้รับบริการ
ไม่สามารถเรียกร้องหรือฟ้องร้องใด ๆ เอาแก่ผู้ให้บริการได้เป็นต้น
ด้วยเหตุนี้จึงต้องนําพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม
มาคํานึงประกอบกับการจัดทําสัญญา หรือ หนังสือดังกล่าว เพื่อป้องกัน
ปํญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา
4. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ส่วนหนึ่งของงานเวชระเบียนจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลที่แสดง
สถานะของบุคคล เช่น ชื่อสกุล สถานะการสมรส หรืออํานาจกระทํา
การใด ๆ ของผู้รับบริการ ฯ ที่จะกระทําได้เช่น อํานาจที่จะให้9
ความยินยอมของผู้รับบริการฯ ที่เป็นผู้เยาว์ เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลถึง
ความสมบูรณ์ถึงเอกสารหลักฐาน การกระทําใด ๆ ห รือ แม่แต่
การดําเนินการในส่วนที่เป็นสิทธิที่ผู้รับบริการฯจะพึงได้รับ เช่น สิทธิตาม
ประกันสังคม เป็นต้น
โดยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวมาข้างต้นโดยตรงก็คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพราะว่าเป็นกฎหมายที่กําหนด
บทบาท หน้าที่ การรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน การกระทําการใด ๆ
เชน นิติกรรม สัญญา สภาพบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
ของบุคคลทั่วไปเป็นประจําอยู่แล้ว โดยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
ทางด้านงานเวชระเบียนและการให้บริการในด้านต่างๆจะมีดังนี้
1.) สภาพบุคคล : สิทธิและหน้าที่ของผู้เยาว์โดยที่ผู้เยาว์ตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์นี้มีความหมายว่า ผู้เยาว์คือ บุคคลที่
มีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
2.) นิติกรรมสัญญา : ซึ่งเป็นข้อพิจารณาที่ต้องดูควบคูุไปกับ
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
3.) การละเมิด : เป็นเรื่องที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก
การรับบริการจากบุคลากร หรือ หน่วยงานด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิด
จากความประมาทเลินเล่อ หรือ จงใจก็ตาม อีกทั้งยังกําหนดขอบเขต
ของการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนว่าจะเรียกร้องอะไรได้บ้าง
4.) อํานาจผู้ปกครอง : ใช้ในเรื่องของอํานาจการให้
ความยินยอมในกรณีที่ผู้มาขอรับบริการเป็นผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ
หรือ บุคคลวิกลจริต ซึ่งส่วนรายละเอียดจะกล่าวในภายหลัง10
5. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ( Convention on the right of
the child)
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเป็นสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่าง
ประเทศที่ได้รับความเห็นชอบมากที่สุดในโลก โดยทุกประเทศในโลกได้ให้
สัตยาบัน ยกเว้นประเทศโซมาเลีย และสหรัฐอเมริกา
ในปีพ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาฉบับนี้
ระบุความละเอียดของสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ ไว้ว่าทุกประเทศต้อง
รับประกันเด็กในประเทศของตน หนึ่งในนั้นได้แก่ สิทธิที่จะมีชีวิตรอด
กล่าวคือ การได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ดีนั่นเอง
โดยเด็กตามความหมายในอนุสัญญาฉบับนี้จะต่างกับในประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตรงที่ว่า เด็กตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
หมายถึง บุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ เว้นแต่จะได้บรรลุ
นิติภาวะโดยเหตุอย่างอื่นที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ซึ่งจะกล่าวในภายหลัง
อันจะมีผลในเรื่องของขอบเขตอํานาจ หรือ สิทธิของเด็กที่จะเข้ามาขอรับ
บริการจากสถานพยาบาลว่า สามารถกระทําเองได้เพียงใด
6. คําประกาศสิทธิผู้ป่วย
สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลใช้ยันกับผู้อื่นเพื่อ
คุ้มครอง หรือ รักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนอันพึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น
สิทธิผู้ป่วย จึงหมายถึง ความชอบธรรมที่ผู้ป่วยซึ่งรวมถึงผู้ที่ไป
รับบริการด้านสุขภาพต่างๆจะพึงได้รับ เพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของ
ตนเอง โดยไม่ละเมิดถึงสิทธิของผู้อื่น แม้ว่าที่ผ่านมาความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ป่วยและผู้ใช่บริการด้านสุขภาพสาขาต่างๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน11
ของความเกื้อกูลกัน น้ำใจ และไว้วางใจซึ่งกันและกัน แต่
ความสลับซับซ้อนทางสังคม และกระแสของวัฒนธรรมทางธุรกิจนั้นได้
เพิ่มขยายความขัดแย้งทางจริยธรรมมากขึ้น ทําให้ต้องมีบทบัญญัติ
ทั้งในทางกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์กฎหมายคุ้มครอง
ผู้บริโภค และข้อบังคับทางจริยธรรมแห่งวิชาชีพสาขาต่างๆ เพื่อจัด
ระเบียบการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และ
บริการด้านสุขภาพต่างๆให้เข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นในหลายประเทศจึงได้มีการประกาศสิทธิผู้ป่วย หรือ
กฎบัตรผู้ป่วยขึ้น เพื่อรับรองให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงาน สําหรับ
ประเทศไทยองค์กรสภาวิชาชีพด้านสุขภาพ ได้เล็งเห็นประโยชน์ที่จะ
รวบรวมสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ป่วยตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติที่สอดคล้อง
กับวิถีไทย จัดทําเป็นประกาศเพื่อให้รู้ทั่วกันทั้งประชาชน ผู้ป่วย และ
ผู้ให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ ทั้งแพทย์พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร
และผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาต่างๆโดยมุ่งหวังที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจ
อันดีลดความขัดแย้ง และนําไปสู่ความไว้วางใจ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่นําไป
สู่ผลการรักษาพยาบาลที่ดีโดยคําประกาศสิทธิผู้ป่วยมี 10 ข้อ ดังนี้
ข้อที่ 1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับบริการ
ด้านสุขภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เนื่องจากในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนั้นมีข้อกําหนด
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของคนไทย ระหว่างผู้ป่วยและผู้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมรวมไปถึงการให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นในการดูแลผู้ใช้บริการทุกรายต้องดูแลเป็็นอย่างดี
อย่างสมเหตุสมผล และตัดสินใจให้การดูแลเป็นราย ๆ ตาม12
ความเหมาะสมกับอาการ หรือ โรคที่เป็นด้วยวิจารณญาณและความรู้ใน
วิชาชีพ รวมทั้งต้องรู้สิทธิอันพึงมีพึงได้ของผู้รับบริการ เช่น ผู้ยากไร้
เด็กอายุ 0 – 12 ปีหรือ ผู้ที่มีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพยาบาลจาก
สถานบริการของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ข้อที่ 2 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
สุขภาพโดยไม่เลือกปฏิบัติเนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ
ศาสนา ลัทธิการเมือง เพศ อายุและลักษณะของความเจ็บป่วย
ดังนั้นผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการสุขภาพในมาตรฐานที่ดี
ที่สุดตามฐานานุรูป โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติทั้งนี้มิได้หมายความรวมถึง
สิทธิอื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนือบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น การไม่ต้องชําระ
ค่ารักษาพยาบาล การพักในห้องพิเศษต่างๆและบริการพิเศษอื่น ๆ
เป็นต้น
ขอที่ 3 ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิที่จะไดรับขอมูล
อยางเพียงพอ จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพเพื่อใหผูปวยสามารถ
เลือกตัดสินใจในการยินยอม หรือไมยินยอมใหประกอบวิชาชีพ
ดานสุขภาพปฏิบัติตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน
สิทธิที่จะรับรูขอมูลขาวสารและตัดสินใจในการทําบําบัดรักษา
โรคภัยที่เกิดขึ้น นับเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของผูปวยซึ่งผูประกอบวิชาชีพ
ดานสุขภาพตองอธิบายใหผูปวยทราบถึงอาการ การดําเนินโรค วิธี
การรักษาความยินยอมของผูปวยนั้นจึงจะมีผลตามกฎหมาย ซึ่งเรียกวา
ความยินยอมที่ไดรับการบอกกลาว ( Informed Consent ) ยกเวน
การชวยเหลือในกรณีรีบดวนฉุกเฉิน ซึ่งจําเปนตองกระทําเพื่อชวยชีวิต13
ผูปวยตามขอ 4 และคําประกาศสิทธิขอนี้เองที่ถือวาเปนสวนหนึ่งของ
การที่ผูใหบริการดานสุขภาพจําตองไดรับความยินยอมจากผูปวยเสียกอน
ขอที่ 4 ผูปวยที่อยูในสภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิ
ที่จะไดรับความชวยเหลือรีบดวนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดย
ทันที ตามความจําเปนแกกรณีโดยไมคํานึงวาผูปวยจะรองขอ
ความชวยเหลือหรือไม
การชวยเหลือผูปวยในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต ถือวาเปน
จริยธรรมแหงวิชาชีพขั้นพื้นฐาน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพจะตอง
ดําเนินการโดยทันทีเมื่อตนอยูในฐานะที่จะใหความชวยเหลือได
การชวยเหลือในลักษณะเชนนี้นับวาเปนความจําเปนในการชวยชีวิต
แมวาจะไมไดรับการรองขอจากผูปวย ซึ่งบอยครั้งก็ไมอยูในสภาพมีสติ
พอที่จะรองขอไดถือวาเปนการกระทําโดยความจําเปน ไมมีความผิด
แตการที่ปฏิเสธความชวยเหลือนับวาเปนการละเมิดขอบังคับแพทยสภา
วาดวยการรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526 และอาจผิด
กฎหมายอาญาไดดวย
ขอที่ 5 ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับทราบชื่อ สกุล และประเภทของ
ผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพที่เปนผูใหบริการแกตน
ในสถานพยาบาลตางๆจะมีผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพตางๆ
หลายสาขาปฏิบัติงานรวมกันในการชวยเหลือผูปวยกับบุคลากรผูชวย
ตางๆ หลายประเภท ซึ่งบอยครั้งกอใหเกิดความไมแนใจและความไม
เขาใจแกผูปวยและประชาชนทั่วไป ดังนั้นการกําหนดใหผูปวยมีสิทธิที่จะ
สอบถามชื่อ และโดยเฉพาะอยางยิ่งประเภทของผูประกอบวิชาชีพที่
ใหบริการแกตน จึงชวยผูปวยในฐานะผูบริโภคกลาที่จะสอบถามขอมูลที่14
จะชวยใหเกิดความเขาใจและสามารถตัดสินใจเพื่อคุมครอง
ความปลอดภัยของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหบริการซึ่งไมมีคุณภาพ
เพียงพอ
ขอที่ 6 ผูปวยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผูประกอบวิชาชีพดาน
สุขภาพอื่น ๆ ที่มิไดเปนผูใหบริการแกตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยน
ผูใหบริการและสถานบริการได
สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัย ( The right to safety ) สิทธิที่จะ
ไดรับขาวสาร ( The right to be informed ) สิทธิที่จะบอกเลิก
( The right to choose ) นับเปนสิทธิที่สําคัญของผูบริโภคสินคาและ
บริการ ซึ่งรวมถึงการบริการทางดานสุขภาพ ในวัฒนธรรมปจจุบันผูปวย
ยังมีความเกรงใจและไมตระหนักถึงสิทธินี้ ทําใหเกิดความไมเขาใจเมื่อ
ผูปวยขอความเห็นจากผูใหบริการตอสุขภาพของผูอื่น หรือไมให
ความรวมมือในการที่ผูปวยจะเปลี่ยนผูใหบริการหรือสถานบริการ
การกําหนดสิทธิผูปวยในประเด็นนี้ใหชัดแจง จึงมีประโยชนที่จะลด
ความขัดแยงและเปนการรับรองสิทธิผูปวยที่จะเลือกตัดสินใจดวยตนเอง
ขอที่ 7 ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับการปกปดขอมูลที่เกี่ยวกับตนเอง
จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยเครงครัด เวนแตจะไดรับ
ความยินยอมจากผูปวยหรือการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย
สิทธิสวนบุคคลที่จะไดรับการปกปดขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยนี้
ถือวาเปนสิทธิผูปวยที่ไดรับการรับรองมาตั้งแตคําสาบานของ Hippocratis
ซึ่งประเทศไทยก็ไดรับรองสิทธินี้ในกฎหมายอาญาแหงประมวลกฎหมาย
อาญา นอกจากนี้ยังมีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ พ.ศ. 2540 ขอบังคับของแพทยสภาวาดวยการรักษา-15
จริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526 หมวด 3 ขอ 9 และ
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ซึ่งถือไดวาสังคมให
ความสําคัญกับสิทธิผูปวยในขอนี้มาก เพราะถือวาเปนรากฐานที่ผูปวยให
ความไววางใจตอแพทยเพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลตนเอง
แตอยางไรก็ตาม ก็มีขอยกเวนในกรณีที่มีเหตุผลและ
ความจําเปนที่เหนือกวา เชน การปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย หรือ
การคุมครองประโยชนสาธารณะเพื่อความสงบเรียบรอยและความมั่นคง
ของประชาชน หรือในกรณีที่คุมครองอันตรายรายแรงของบุคคลอื่น
การเปดเผยขอมูลตอศาล การแจงขอมูลตอบุคคลที่สามเพื่อคุมครอง
อันตรายรายแรงของบุคคลอื่น เปนตน โดยนอกจากนี้แลวตาม
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ยังไดวางหลักไวในเรื่องนี้
ดวย จึงจําเปนที่ผูใหบริการดานสุขภาพตองมีความระมัดระวังไมใหขอมูล
ดานนี้ถูกเปดเผยโดยไมจําเปน ( ฝาฝนตอบทบัญญัติของกฎหมาย )
จึงถือไดวา คําประกาศสิทธิผูปวยขอนี้มีความสําคัญอยางยิ่งตอ
งานเวชระเบียนเปนอยางมาก
ขอที่ 8 ผูปวยมีสิท ธิที่จะไดรับขอมูลอยางครบถวนใน
การตัดสินใจเขารวม หรือถอนตัวจากการเปนผูถูกทดลองในการทําวิจัย
ของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ
ในปจจุบันมีความจําเปนในการทดลองมนุษยเพื่อความกาวหนา
ในทางการแพทยมีมากขึ้น ประเทศไทยยังไมมีบทบัญญัติในกฎหมายที่
เกี่ยวกับการทดลองในมนุษย โดยเฉพาะขอบังคับแพทยสภาวาดวย
การรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพ พ.ศ. 2526 หมวด 1 ขอ 6 ระบุวา16
“ ขอ 6 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูทําการทดลองในมนุษยตอง
ไดรับความยินยอมจากผูถูกทดลอง และตองพรอมที่จะปองกันผูถูก
ทดลองจากอันตรายที่เกิดขึ้นจากการทดลองนั้นๆ“
ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550
มาตรา 9 ก็มีบัญญัติในเรื่องดังกลาวดวยเชนกัน คือ
“ ในกรณีที่ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขประสงคใช
ผูรับบริการเปนสวนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย ผูประกอบวิชาชีพ
ดานสาธารณสุขตองแจงผูรับบริการกอนจึงจะดําเนินการได
ความยินยอมดังกลาว ผูรับบริการจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได“
ขอ ที่ 9 ผูปวยมีสิท ธิที่จะไดรับทราบขอ มูลเกี่ยวกับ
การรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อรองขอ ทั้งนี้
ขอมูลดังกลาวตองไมเปนการละเมิดสิทธิสวนตัวของบุคคลอื่น
การที่แพทยบันทึกประวัติการเจ็บปวยและการรักษาตางๆของ
ผูปวยในเวชระเบียนอยางละเอียด นับเปนเครื่องมือที่สําคัญในการให
การรักษาพยาบาลผูปวยอยางตอเนื่องและคุณภาพ นับเปนมาตรฐาน
ของการประกอบเวชกรรมสากล อยางไรก็ตามขอมูลที่ปรากฏใน
เวชระเบียนถือเปนขอมูลสวนบุคคล ซึ่งเจาของประวัติมีสิทธิที่จะได
รับทราบขอมูลได โดยสิทธินี้ไดรับการรับรองตามพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 อยางไรก็ตามเนื่องจากขอมูลในเวชระเบียน
อาจมีบางสวนซึ่งเปนการแสดงความเห็นของแพทยในการรักษาพยาบาล
และอาจกระทบตอบุคคลอื่น ๆไดดังนั้นการเปดเผยขอมูลใหผูปวยทราบ
จะตองเปนการละเมิดสวนตัวของบุคคลอื่น ทั้งนี้รวมถึงกรณีผูปวย
ยินยอมใหเปดเผยขอมูลของตนตอบุคคลที่สามยกเวนในกรณีที่มี17
การประกันชีวิต หรือสุขภาพ
ขอที่ 10 บิดามารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรมอาจใชสิทธิแทน
ผูปวยที่เปนเด็กอายุยังไมเกิน 18 ปบริบูรณ ผูบกพรองทางกาย หรือ
จิตใจ ซึ่งไมสามารถใชสิทธิดวยตนเองได
สําหรับผูบกพรองทางกายและจิตใจนั้น ตองถึงขนาดวา
ไมสามารถเขาใจหรือตัดสินใจดวยตนเอง เชน วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอน
ไมสมประกอบ สวนใครจะเปนผูแทนโดยชอบธรรมนั้นจะกลาวใน
ตอนตอไป
ดังจะเห็นไดวางานดานเวชระเบียนนั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวของอยู
หลายฉบับ ซึ่งถาปฏิบัติงานไมอยูในกรอบของกฎหมายแลวอาจจะนําพา
ความยุงยากมาสูผูปฏิบัติงาน หรือหนวยงานได ดวยเนื่องจากวา
เวชระเบียนเปนเอกสารหลักฐานที่สําคัญเปนอยางยิ่ง ทั้งทาง
ดานการแพทยเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หรือ เมื่อมีการรองเรียน
มีการฟองรองเปนคดีขึ้นสูศาล ก็สามารถใชเปนหลักฐานที่สําคัญใน
การอางอิงเปนพยานตอการสอบสวน หรือ สืบพยาน หากเวชระเบียนนั้น
ไดกระทําโดยไมอยูในกรอบของกฎหมายแลว การที่จะอางมาเปน
พยานหลักฐานนั้นก็จะมีน้ําหนักนอย และอาจจะเปนการพาดพิงถึง
การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่เวชระเบียนวามีความประมาทเลินเลอจน
ทําใหเกิดความเสียหายได18
เวชระเบียน เปนเอกสารที่มีความสําคัญทางการแพทยเปนอยางมาก
โดยมีประโยชนดังตอไปนี้
♦ เปนหลักฐานทางกฎหมาย
♦ เปนเครื่องมือในการดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง
♦ เปนแหลงขอมูลในการศึกษาและวิจัย
♦ เปนแหลงในการรวบรวมขอมูลเพื่อวิเคราะห
♦ วิธีในการประเมินคุณภาพการรักษา
♦ เปนเครื่องมือในการสื่อสารระหวางบุคลากรทางสาธารณสุข
♦ เปนหลักฐานในการเบิกเงินจากกองทุนตางๆ
ดวยเหตุนี้การสรุปเวชระเบียนที่มีคุณภาพ ตองมีองคประกอบที่
ครบถวนชัดเจน ทั้งสวนที่ใชในการวินิจฉัย การรักษาผูปวย และใน
การดําเนินการตางๆในกระบวนการยุติธรรม
แพทยสภาไดกําหนดแนวทางในการบันทึกเวชระเบียนออกเปน
• เวชระเบียนผูปวยนอก
• เวชระเบียนผูปวยใน
• เวชระเบียนเมื่อมีการทําหัตถกรรม
แตอยางไรก็ตาม หลักสําคัญในการบันทึกเวชระเบียนนั้นจะมี
ลักษณะเหมือนกันซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้
*
1.) การบันทึกขอมูลทางคลินิกเปนความรับผิดชอบของแพทย
ผูดูแลรักษาผูปวย ซึ่งอาจรวมถึงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของไดเชน พยาบาล
* : ณัฐ ตันศรีสวัสดิ์ภาควิชานิติเวชศาสตรคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย19
หรือเจาหนาที่ทางเวชระเบียน เปนตน
2.) การบันทึกขอมูลทําดวยตนเอง หรือกํากับตรวจสอบให
ผูอื่นบันทึกใหถูกตอง
3.) บันทึกประวัติอาการสําคัญ
4.) ประวัติการแพยา สารเคมีหรือสารอื่น
5.) สัญญาณชีพ ( Vital Signs )
6.) ผลการตรวจรางกายผูปวยที่ผิดปกติหรือมีความสําคัญ
ตอการวินิจฉัย หรือใหการรักษาแกผูปวย
7.) ปญหาของผูปวย หรือการวินิจฉัยโรค หรือการแยกโรค
8.) การสั่งการรักษาพยาบาล รวมตลอดถึงชนิดของยา และ
จํานวนยา
9.) ในกรณีที่มีการหัตถกรรม ควรมีบันทึกเหตุผล
ความจําเปนของการทําหัตถกรรม ใบยินยอมของผูปวย หรือผูแทน
ภายหลังที่ไดรับทราบเขาใจถึงขั้นตอน ผลดีและอาการแทรกซอนที่อาจ
เกิดจากการทําหัตถกรรม
10.) คําแนะนําอื่น ๆ ที่ใหแกผูปวย
11.) การบันทึกเวชระเบียนนั้นควรเขียนใหอานออก
อานงายและชัดเจน ในประเด็นนี้มีความสําคัญคอนขางมากหากเกิด
การฟองรองดําเนินคดีในชั้นศาล เพราะถือวาเวชระเบียน เปน
พยานหลักฐานสําคัญในการใหการรักษาพยาบาลแกบุคคล
หากพยานหลักฐานดังกลาวไมมีความชัดเจน ยอมทําใหผูที่ตองอาง
พยานหลักฐานเสียเปรียบในเชิงอรรถคดีหรือเสียผลประโยชนโดย
ไมจําเปน20
12.) การบันทึกเวชระเบียนนั้นไมควรใชอักษรยอที่ไมเปน
สากล เพราะจะทําใหไมสามารถสื่อความหมายไดถูกตอง หรือการแปล
ความหมายโดยผูอื่นนั้นผิดพลาดไปไดซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูที่มา
รับการรักษา หรือแมกระทั่งในการตอสูเชิงอรรถคดีตามกระบวน
การยุติธรรมก็สามารถทําใหเกิดการเสียเปรียบไดซึ่งคลายกับการบันทึก
เวชระเบียนที่ไมชัดเจน อานไมออกนั่นเอง
13.) การสั่งการรักษาพยาบาลดวยคําพูด หรือทางโทรศัพท
จะทําไดเฉพาะกรณีที่มีความจําเปนเรงดวนเพื่อความปลอดภัยของผูปวย
หรือในกรณีการรักษาที่ไมกอใหเกิดผลรายตอผูปวย ทุกครั้งที่สั่งการรักษา
ดวยคําพูดหรือทางโทรศัพทแพทยผูสั่งการรักษาตองลงนามกํากับทาย
คําสั่งโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําไดและอยางชาที่สุดไมควรเกิน 24 ชั่วโมง
ภายหลังการสั่งการรักษาดังกลาว
13.) บันทึกเวชระเบียนควรมีความสมบูรณอยางชาภายใน
15 วัน หลังจากผูปวยถูกจําหนายออกจากการรักษาพยาบาล
14.) เพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลผูปวยใหตอเนื่อง
ควรเก็บรักษาบันทึกเวชระเบียนไวอยางนอยที่สุด 5 ปนับจากวันที่ผูปวย
มาติดตอรับการรักษาครั้งสุดทาย
15.) และกอนที่สถานพยาบาลจะทําลายเวชระเบียนควรไดมี
การประกาศเพื่อใหผูปวยที่ยังประสงคจะใชประโยชนจากขอมูลใน
เวชระเบียนสามารถคัดคานการทําลาย หรือทําการคัดลอก คัดสําเนา
ขอมูลเฉพาะสวนของตนเพื่อประโยชนตอไป21
ในอดีตนั้น บุคคลใดที่ตองการไดรับการบริการดานสาธารณสุข เมื่อ
บุคคลนั้นไปติดตอขอรับบริการจากสถานบริการทางดานสาธารณสุข
สถานบริการนั้นสามารถใหการบริการไดทันทีแตในปจจุบันไดมีการตรา
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งไดบัญญัติในเรื่อง
ดังกลาวไววา กอนที่สถานบริการทางดานสาธารณสุขนั้นจะใหบริการ
ใด ๆ ตองไดรับความยินยอมจากผูที่มาขอรับบริการกอน
ดวยเหตุนี้จึงเกิดประเด็นปญหาตามมาอีกวา ในกรณีที่ผูมาขอรับ
บริการที่เปนเด็ก ซึ่งยังมีอายุไมครบ 20 ปบริบูรณนั้น ซึ่งตามกฎหมาย
ถือวายังไมบรรลุนิติภาวะ*
ทําใหเด็กถูกกําจัดสิทธิบางประการ โดยจะสามารถใหความยินยอม
ไดเอง หรือตองมีผูหนึ่งผูใดใหความยินยอมแทนหรือไมอยางไร
แมวาในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดบัญญัติไววา ใหทุกคน
ไมจํากัดเพศ อายุ การศึกษา ฐานะ ตองไดรับบริการทางดาน
การสาธารณสุขอยางเทาเทียมกัน ดังนั้น แมวาผูรับบริการจะเปนเด็กที่
ยังไมบรรลุนิติภาวะมาขอรับบริการจากสถานบริการดานสาธารณสุข
ก็ตองใหบริการโดยไมเลือกปฏิบัติแตเมื่อพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวของ
กับสภาพ สิทธิหนาที่ของบุคคลโดยตรง คือ ประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย ที่กําหนดขอบเขตอํานาจกระทําการใด ๆ ของผูเยาวไว
* : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1922
อยางชัดเจน คือ
“ ผูเยาว ( ผูอายุยังไมครบ 20 ปบริบูรณ ) ไมสามารถทํานิติกรรม
ใด ๆไดเอง ถาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม “
1
โดยการลงชื่อใหความยินยอมถือวาเปนการทํานิติกรรมอยางหนึ่ง
แตทั้งนี้กฎหมายไดเปดชองไววา
“ ผูเยาวสามารถกระทําการใด ๆอันเปนการเฉพาะตัวของผูเยาวได
เอง“
2
ดังนั้นจึงถือวา การขอรับบริการทางดานสาธารณสุขนั้น เปน
การเฉพาะตัวของผูเยาว โดยเปนไปตามขอกําหนดตามรัฐธรรมนูญที่
กลาวมาขางตน นอกจากนี้ตามคําประกาศสิทธิผูปวยไดกําหนดไววา
“ บิดามารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรมอาจใชสิทธิแทนผูปวยที่เปนเด็ก
อายุยังไมเกิน 18 ปบริบูรณ“
3
นั่นก็แสดงวา เด็กนั้นสามารถมารับ
บริการดานสาธารณสุขโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดย
ชอบธรรมได
เมื่อกฎหมายไดเปดชองไวเชนนี้ ทําใหเด็กที่มีอายุไมเกิน 20 ป
บริบูรณจึงสามารถลงชื่อใหความยินยอมในการรับบริการหรือใหบริการ
ของสถานบริการดานสาธารณสุขไดเอง โดยไมตองใหผูแทนโดย
ชอบธรรมยินยอมเสียกอน
แตในบางกรณีที่ตองทําหัตถกรรมพิเศษ เชน ผาตัด คลอดบุตร
การรักษากรณีที่วินิจฉัยแลวพบวาเปนโรครายแรง ถาไมใชกรณีเรงดวน
1 : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 21
2 : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 23
3 : คําประกาศสิทธิผูปวยขอที่ 10 23
หรือไมมีผูใดมีอํานาจใหความยินยอมไดการลงชื่อใหความยินยอม หรือ
เพิกถอนการรักษาจําตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน
เพราะถึงแมวากฎหมายจะเปดชองไวใหสําหรับเด็กก็ตาม แตในทาง
ปฏิบัติยังถือวา เด็กนั้นยังมีความรูสึกผิดชอบไมมากพอที่จะตัดสินใจใน
การกระทํา หรือยินยอม ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดเอง
ตามเหตุที่กลาวมาขางตน สามารถสรุปเปนแผนผังในหนาถัดไปได
ดังนี้24
ผูแทนโดยชอบธรรม
บิดา มารดา
จดทะเบียนสมรส
บิดา มารดา มีสิทธิใหความยินยอมไดทั้ง 2 คน
ไมจดทะเบียนสมรส
บิดาไมไดจดทะเบียนรับรองเด็กเปนบุตร
- ไมถือวาบิดาเปนผูแทนโดยชอบธรรมจึงไมมี
สิท ธิลงลายมือ ชื่อในเอกสารใด ๆ ที่เปน
การยินยอมใหผูเยาวทําการใด ๆ ทั้งสิ้น จึงตองให
มารดาเปนผูใหความยินยอมแทน ( ยกเวนการรับ
มรดก )
บิดาจดทะเบียนรับรองเด็กเปนบุตร หรือ ศาลพิพากษา
วาเด็กเปนบุตรของบิดาโดยชอบดวยกฎหมาย
- บิดาเปนผูแทนโดยชอบธรรมไดเชนเดียวกับ
มารดาของเด็ก จึงมีสิทธิลงลายมือชื่อในเอกสาร
ใด ๆเพื่อใหความยินยอมแกผูเยาวได
ผูปกครองที่มีอํานาจตามกฎหมาย
ผูที่ดูแลผูเยาวอยูในขณะนั้น
โดยชอบดวยกฎหมาย
( ใชในกรณีถาไมมีบิดามารดา หรือ
ผูปกครอง ภาษากฎหมายเรียกวา
ผูปกครองดูแล )
การรับบริการจากสถานบริการดานสาธารณสขของเด ุ ็ก ( อายุไมเกิน 20 ปบริบูรณ )
ตองคํานึงถึงคําประกาศสิทธิผูปวยเปนสําคัญเพื่อไมใหเกิดการขัดสิทธิของผูปวยที่
เปนเด็ก
ตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม*
- การทําผาตัด
- การรักษากรณีที่วนิจฉิ ัยแลวพบวาเปนโรค -
รายแรง
- การรักษาที่เกดจากการบาดเจ ิ ็บอยาง -
รุนแรง / สาหัส
- การทําหัตถกรรมพิเศษอื่น ๆ
ไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม - การรักษาอาการเลก็ ๆ นอยๆ หรือ อาการไม
รุนแรง
*: การรักษาใดที่จะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมหรือไมนั้น ใหขึ้นอยูกับดุลยพินิจ
ของทางคณะแพทยที่ไดทําการตรวจวินิจฉัยวาเปนอาการที่ตองไดรับการรักษาเปนกรณีพิเศษ
ตองไดรับการรักษาที่คอนขางซับซอน หรือ ตองมีการผาตัดหรือไม25
สวนหนึ่งของการดําเนินงานดานเวชระเบียน จําเปนตองใชขอมูลทาง
ทะเบียนราษฏรประกอบ เนื่องจากขอมูลดังกลาวนั้นเปนสิ่งหนึ่งที่ทําให
ทราบตัวบุคคล ภูมิลําเนา ถิ่นที่อยูของบุคคล ซึ่งทางงานเวชระเบียน
ถือวามีความสําคัญในระดับหนึ่ง โดยการดําเนินการที่เกี่ยวของกับขอมูล
ทางทะเบียนราษฏรที่สําคัญมีดังนี้
ตามพระราชบัญญัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ระบุไววา หญิงใดถาได
สมรสแลวใหเปลี่ยนจากคํานําหนาชื่อวา “ นางสาว “ เปน “ นาง “
หมายความวา ผูหญิงคนใด ( ตองเปนหญิงแท ) ไดทําการสมรสกับชาย
แลวใหใชคํานําหนาชื่อของหญิงวา “ นาง“ แทนการใช“ นางสาว“ซึ่ง
การสมรสนั้น ตองเปนการสมรสที่ถูก ตองตามกฎหมาย คือ
ตองจดทะเบียนสมรสกัน เนื่องจากตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยไดบัญญัติวา การสมรสตามกฎหมายใหมีไดแตเฉพาะ
การจดทะเบียนสมรสเทานั้น
แตในปจจุบันมีการเปลี่ยนทางสภาพสังคมอยางมาก สถานะภาพ
ของผูหญิงเริ่มมีบทบาทและเปนที่ยอมรับมากขึ้นในสังคม ทําใหมี
การเรียกรองถึงสิทธิบางประการที่ยังไมเทาเทียมกับฝายชาย หนึ่งในนั้น
คือ คํานําหนาชื่อ โดยองคกรที่เกี่ยวกับสตรีไดพยายามเรียกรองเพื่อ
ทวงสิทธิความเทาเทียมกันในสังคมที่หายไปของสตรีในเรื่องดังกลาว26
คืนมา
จนกระทั่งในป 2551 ไดมีการตราพระราชบัญญัติฉบับหนึ่งขึ้นมา
เพื่อปลดล็อคความไมเทาเทียมกันของสถานะภาพในสังคม คือ
พระราชบัญญัติคํานําหนานามหญิง พ.ศ. 2551 โดยพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 ซึ่งเนื้อหาของ
พระราชบัญญัตินี้เปนในเรื่องของคํานําหนานามหญิงโดยเฉพาะ มีหลัก
ดังนี้*
1. ผูหญิงซึ่งมีอายุครบ 15 ปบริบูรณขึ้นไปยังคงใหใชคํานําหนาชื่อ
เปน “ นางสาว“เหมือนเดิม
2. ผูหญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสแลวจะใชคํานําหนาชื่อเปน “ นางสาว“
หรือ“ นาง“ก็ได
3. ผูหญิงที่การสมรสสิ้นสุดลง จะใชคํานําหนาชื่อเปน “ นางสาว“
หรือ“ นาง“ก็ไดแลวแตจะเลือก
แตตองขอย้ําวา กฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใชเฉพาะผูหญิงที่ทํา
การสมรสกับชายโดยถูกตองตามกฎหมายคือ ตองจดทะเบียนสมรส
เทานั้น โดยถาอยูกินกันฉันทสามีภรรยาโดยไมมีการจดทะเบียนสมรสกัน
ยังคงใหใชคํานําหนาชื่อวา“ นางสาว“อยูเหมือนเดิม ไมมีสิทธิที่จะใช
คํานําหนาชื่อวา“ นาง“เหมือนกับผูหญิงที่ทําการสมรสโดยจดทะเบียน
สมรส
ทั้งนี้ถาจะมีการเปลี่ยนแปลงคํานําหนาชื่อ ตองแจงการเปลี่ยนแปลง
ใหนายทะเบียนทราบกอน จะทําการเปลี่ยนแปลงเองโดยพลการไมได
* : พระราชบัญญัติคํานําหนานามหญิง พ.ศ. 2551 มาตรา 4 , 5 , 627
เพราะมีผลตอความสัมพันธในเรื่องของสิทธิในครอบครัวเชน อํานาจ
ปกครองบุตร มรดก หรือ สิทธิตาง ๆระหวางสามีภรรยา เปนตน
สวนชายจริง หญิงไมแทไมสามารถมาขอเปลี่ยนคํานําหนาชื่อจาก
“ นาย“เปน “ นางสาว“ หรือ“ นาง“ไดเพราะยังไมกฎหมายฉบับใดที่
เปดชองใหกระทําได
แตถาหลักฐานทางทะเบียนราษฎรกับขอมูลที่ผูมาขอ
รับบริการแจงไมตรงกันในเรื่องของคํานําหนานามหญิง
จะทํา อยางไร ??
หากเกิดกรณีของคํานําหนานามหญิงในหลักฐานทางทะเบียนราษฎร
ไมตรงกับที่ผูมาขอรับบริการแจงกับเจาหนาที่ ในการกรอกขอมูลใน
เวชระเบียนใหยึดตามที่ปรากฏอยูในหลักฐานทางทะเบียนราษฎร
เปนหลัก ( ใหยึดเปนหลักใชในเรื่องนามสกุลดวย )
จากที่กลาวมาทั้งหมดสามารถสรุปเปนแผนผังไดดังนี้
ชาย
หญิง
ยังไมสมรส และ
อายุ 15 ปขึ้นไป
นางสาว
สมรส
จดทะเบียนสมรส
จะใช “นางสาว” หรือ “นาง” ก็ได
การสมรสสิ้นสุดลง
ตาย
จดทะเบียนหยา
**( ตองแจงตอนายทะเบียน ) **
ไมจดทะเบียนสมรส28
2.1 นามสกลของหญ ุ ิง
แตเดิมนั้น หญิงใดทําการสมรสถูกตองตามกฎหมาย คือ แตงงาน
โดยจดทะเบียนสมรส ใหหญิงนั้นใชนามสกุลของสามี ตอมาไดมี
การแกไขพระราชบัญญัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ใหผูหญิงคนใดก็ตามที่
จดทะเบียนสมรสกับชายอื่นมีสิทธิที่จะใชนามสกุลของตน หรือ นามสกุล
ของสามี หรือ นามสกุลทั้งของตนเองและของสามีไปพรอมกันได
( ขอยกตัวอยางเฉพาะนามสกุลเทานั้น อยาสับสนในเรื่องของคํานําหนา
ชื่อ ) เชน
น.ส.สมหญิง สวยหยด จดทะเบียนกับ นายสมชาย หลอหมดจด
ถาเปนกฎหมายเกา น.ส.สมหญิงตองใชนามสกุลดังนี้
“ นางสมหญิง หลอหมดจด “
แตถาเปนกฎหมายใหม น.ส.สมหญิง สามารถใชนามสกุลไดอยางใด
อยางหนึ่งดังนี้
“ นางสมหญิง หลอหมดจด “
“ นางสมหญิง สวยหยด “ ...หรือ...
“ นางสมหญิง สวยหยด หลอหมดจด “
แตถาแตงงานโดยไมจดทะเบียนสมรส ผูหญิงคนนั้นยังคงตองใช
นามสกุลเดิมของตนเอง เชนตัวอยางขางตน น.ส.สมหญิง
สวยหยด ก็ยังคงตองใชนามสกุล สวยหยด อยูเชนเดิม
2.2 นามสกลของเด ุ ็กแรกเกิด
เมื่อเด็กเกิดมาลืมตาดูโลกและมีชีวิต มีลมหายใจ ตามกฎหมายแลว29
ถือวาเด็กนั้นเริ่มสภาพบุคคล * สามารถมีสิทธิหนาที่ตางๆไดเทาที่
กฎหมายกําหนด ซึ่งสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของสิทธิที่เด็กทุกคนจะไดรับคือ
นามสกุล
นามสกุล เปนตัวบอกสถานะของเด็กไดวาเปนบุตรของใคร ใครมี
อํานาจปกครอง และอาจมีผลถึงการรับมรดกของเด็กจากเจามรดกที่ถึง
แกความตาย ไมวาจะเปนการรับมรดกทางพินัยกรรม หรือการที่เปน
ทายาทโดยธรรมก็ตาม ซึ่งสามารถสรุปหลักในการใชนามสกุลของเด็กได
ดังนี้
กรณีที่ 1 บิดา - มารดาของเด็กไมจดทะเบียนสมรสกัน
เด็กที่เกิดจากบิดา - มารดากรณีนี้ตามกฎหมายเรียกวา
บุตรนอกสมรส หรือ บุตรนอกกฎหมาย ซึ่งถือวาบิดาของเด็กนั้นยังไมเปน
บิดาที่ชอบดวยกฎหมาย โดยบิดาสามารถมีสิทธิที่จะฟองไมรับหรือรับ
เด็กบุตรของตนไดหรือ เด็กสามารถฟองวาชายผูนั้นไมใชบิดาของตนได
ทําใหสถานะของเด็กกับบิดาเด็กยังไมแนนอนซึ่งสามารถเกิดเหตุการณ
ผันแปรไดตลอดเวลาจนกวาจะเลยระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไว ทําให
บิดาสามารถที่จะไมใหหรือใหเด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแลเลี้ยงดูจากตน
หรือในเรื่องที่เกี่ยวกับมรดกของตนได
ดังนั้นในการใชนามสกุลของเด็กนั้นใหใชนามสกุลของมารดา
เด็ก ถาจะใสชื่อนามสกุลของบิดาเด็กตองไดรับความยินยอมจากบิดาเด็ก
กอน ซึ่งอาจใหความยินยอมดวยวาจาโดยไมตองทําเปนหนังสือก็ไดและ
ถาบิดาเด็กเปนคนแจงเกิดเองก็ยิ่งทําใหการบันทึกนามสกุลของเด็กใน
หลักฐานทางเวชระเบียนนั้นงายขึ้น
* : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1530
แตหากบิดาไมยินยอมใหใชนามสกุล หรือ ปฏิเสธการรับเลี้ยง
หรือไมรับวาเด็กเปนบุตรของตน ใหใชนามสกุลของมารดา หรือญาติ
ทางมารดาของเด็กไดโดยที่ญาติของมารดาเด็กไดใหความยินยอมเปน
หนังสือแลว
กรณีที่ 2 บดาิ - มารดาของเด็กจดทะเบียนสมรสกนั
เด็กสามารถใชนามสกุลของทั้งบิดา หรือมารดาไดโดยไม
ตองไดรับความยินยอมจากใคร สุดแตที่บิดา - มารดาเด็กจะเลือกวา
จะใหใชนามสกุลของใคร เนื่องจากเด็กที่เกิดจากบิดา - มารดา
จดทะเบียนสมรสกัน ถือวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ซึ่งเด็กจะมีสิทธิ
ที่ดีกวาในกรณีที่ 1
ทั้ง 2 กรณีสามารถสรุปเปนแผนผังไดดังนี้
นามสกุลของเด็ก
บิดา - มารดา
ไมไดจดทะเบียนสมรสกัน
บิดา - มารดา
จดทะเบียนสมรสกัน
ใชนามสกุลของมารดา
ใชนามสกุลของบิดา
ตองไดรับความยินยอม
จากบิดาเปนหนังสือ
ใชนามสกุลของบิดาหรือ
มารดาก็ได31
สัญชาติถือเปนสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของขอมูลทางทะเบียนราษฏร
โดยในปจจุบันมีคนงานตางดาวเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวน
มาก ซึ่งในบางครั้งไดมาสมรสสมรักกับคนไทย แลวมีลูกดวยกัน ทําใหมี
ปญหาวา เด็กที่เกิดมาจะมีสัญชาติอะไร??
ยิ่งซ้ําราย พบวา มีคนไทยบางคนถึงขั้นรับจางเปนพอของเด็ก หรือ
แมของเด็ก โดยเขาใจวา ถาพอ หรือ แมเปนคนไทย เด็กที่เกิดมาจาก
คนตางดาวจะไดรับสัญชาติไทย
เหตุที่ตองใหความสําคัญกับสัญชาติกับงานขอมูลเวชระเบียนนั้นก็คือ
เรื่องของสิทธิเบิกคารักษาพยาบาล รวมถึงสิทธิตางๆของเด็กจะไดรับ
หลักกฎหมายในเรื่องของสัญชาตินั้นกําหนดอยูในพระราชบัญญัติ
สัญชาติไทย พ.ศ. 2508 ซึ่งไดมีการปรับปรุงแกไขเมื่อปพ.ศ. 2535 โดยมี
หลักดังนี้
การไดมาซึ่งสัญชาติไทยของเด็ก มี 2 วิธีคือ
1.) หลักสืบสายโลหิต : มี 2 กรณี
กรณีที่ 1 บิดาเปนสัญชาติไทย แตมารดาเปนคนตางดาว
- เด็กที่เกิดมาจะไดสัญชาติไทยก็ตอเมื่อ บิดาและมารดา
จดทะเบียนสมรสกันถูกตองตามกฎหมาย หรือ บิดาจดทะเบียน
รับเด็กเปนบุตรตามกฎหมายเทานั้น
กรณีที่ 2 บิดาเปนคนตางดาว แตมารดาเปนสัญชาติไทย
- เด็กที่เกิดมาจะไดสัญชาติไทย เนื่องจากตามหลักกฎมาย
ถือวาเด็กที่เกิดมาเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของมารดาดวย32
หลักสายโลหิต ทั้งนี้ไมวามารดาจะจดทะเบียนกับบิดาเด็กหรือไม
2.) หลักดินแดน : ผูที่เกิดในประเทศไทยยอมไดรับสัญชาติไทย
เวนแตผูที่เกิดในประเทศไทยโดยบิดา หรือมารดาเปนคนตางดาวและใน
ขณะที่เกิด บิดา หรือ มารดาของผูนั้นเปน
2.1) ผูที่ไดรับการผอนผันใหพักอาศัยอยูในราชอาณาจักรไทยเปน
กรณีพิเศษเฉพาะราย
2.2) ผูที่ไดรับอนุญาตใหเขาอยูในราชอาณาจักรไทยเพียงชั่วคราว
2.3) ผูที่ไดเขามาอยูในราชอาณาจักรไทยโดยไมไดรับอนุญาตตาม
กฎหมายวาดวยคนเขาเมือง
2.4) หัวหนาคณะผูแทนทางทูตหรือเจาหนาที่ในคณะผูแทนทางทูต
2.5) หัวหนาคณะผูแทนทางกงสุลหรือเจาหนาที่ในคณะผูแทน
ทางกงสุล
2.6) พนักงานหรือผูเชี่ยวชาญขององคการระหวางประเทศ
2.7) คนในครอบครัวซึ่งเปนญาติอยูในความอุปการะ หรือ คนใชซึ่ง
เดินทางมาจากตางประเทศมาอยูกับบุคคลในขอ 2.4 – 2.6
ดังนั้นหากเปนแรงงานตางดาว ก็จัดอยูในขอยกเวนของหลักดินแดน
ที่ไมสามารถเอาเรื่องดินแดนมากลาวอางไดวา ลูกของตนเกิดบนแผนดิน
ไทย ยอมไดสัญชาติไทย อีกทั้งยังเปนการขัดกับหลักสายโลหิตดวย
ขางตน33
ในบางครั้งประชาชน หนวยงาน หรือองคกรตางๆจําเปนตองใช
ขอมูลหรือเอกสารทางดานเวชระเบียน เพื่อไปประกอบการดําเนินการ
หรือปฏิบัติตามหนาที่ใด ๆแตดวยติดที่วา ขอมูลทางดานเวชระเบียน
จัดเปนขอมูลเฉพาะบุคคลหรือขอมูลสวนตัว ดังนั้นในการที่จะทํา
การเปดเผย สงมอบขอมูล หรือเอกสารดังกลาวจะตองเปนไปดวย
ความรอบคอบระมัดระวัง อีกทั้งในปจจุบันไดมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับ
ทางขอมูลเวชระเบียนอยู คือ พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ พ.ศ. 2540 และ พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2550 เจาหนาที่ก็ยิ่งตองตระหนักในเรื่องดังกลาวใหมากขึ้นไป
กวาเดิม เพราะหากมีการเผยแพรออกไปใหกับผูที่ตองการแสวงหา
ผลประโยชนจากขอมูล ก็อาจจะเกิดเหตุการณที่ไมคาดคิดตอผูเปน
เจาของขอมูลไดโดยไมรูตัว อีกทั้งยังถือวาเจาหนาที่ไดกระทําผิดกฎหมาย
ดวย
ดังนั้นหลักเกณฑของการเปดเผยขอมูลดานเวชระเบียนแบงออกได
เปน 2 กรณีคือ
เนื่องจากในปจจ ุบันไดมีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550
ออกมาบังคับใชโดยมีขอบญญั ัติอยูตอนหนงวึ่ า
กรณีททางหน ี่ วยงานของรัฐเปนผูมาขอขอมูลหรือเอกสาร34
“ ขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เปนความลับสวนบุคคล
ผูใดจะนําไปเปดเผยในประการที่นาจะทําใหบุคคลนั้นเกิดความเสียหาย
ไมได เวนแตการเปดเผยนั้นเปนไปตามความประสงคของบุคคลนั้น
โดยตรง หรือ มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติใหตองเปดเผย แตไมวากรณีใด ๆ
ผูใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของ
ราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับขอมูลดานสุขภาพของ
บุคคลที่ไมใชของตนไมได“*
จากบทบัญญัติของกฎหมายขางตนทําใหเห็นขอมูลดานสุขภาพของ
บุคคลนั้นถือวาเปนความลับซึ่งไมสามารถเปดเผยได
แตในบางกรณีนั้นหนวยงานของรัฐก็มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง
ใชขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เพื่อใชประกอบการพิจารณาตางๆเชน
การพิจารณาเงินคาทดแทนตามกฎหมายเงินคาทดแทน การนั่งพิจารณา
คดีของศาล การสืบสวน สอบสวนพยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน
เปนตน จึงทําใหเกิดปญหาวา ขอมูลดานสุขภาพที่ถือวาเปนความลับ
อันตองหามตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550
จะสามารถเปดเผยใหกับทางหนวยงานของรัฐที่ประสงคจะขอขอมูล
ดังกลาวกับทางสถานบริการสาธารณสุขไดหรือไม
เมื่อพิจารณาดวยขอบัญญัติตามกฎหมายตางๆ บางฉบับพบวามี
การใหอํานาจของเจาพนักงานในการที่จะเรียกขอมูลตางๆจากหนวยงาน
ของรัฐอื่น ๆไดเชน อํานาจของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนตาม
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 บัญญัติใหคณะกรรมการ
กองทุนเงินทดแทนมีอํานาจสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของสงเอกสารหรือขอมูลที่
* : พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 มาตรา 735
จําเปนมาพิจารณาได* และในการปฏิบัติตามหนาที่ตามพระราชบัญญัติ
เงินทดแทน พ.ศ. 2537 ดังกลาวใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจในการมี
หนังสือสอบถาม หรือ เรียกบุคคลที่เกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือ ใหสง
เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ หรือ สิ่งอื่นที่จําเปนมาเพื่อประกอบ
การพิจารณา
แตในระหวางโรงพยาบาล หรือ คณะแพทยที่ทําการรักษาจะขอ
ขอมูลดังกลาวไดจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน
เพราะวาไมมีกฎหมายใดใหอํานาจไวแมแตพระราชบัญญัติขอมูล
ขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ก็ตาม เนื่องจากวามีพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ไดกําหนดหามมิใหยกอํานาจ หรือสิทธิตาม
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ขึ้นมาอางสิทธิใน
การขอขอมูลสุขภาพดังกลาวไดเวนแตกรณีที่มีความจําเปนและฉุกเฉิน
อ ยางยิ่งในการที่ตองใชขอมูลเวชระเบียนเพื่อประโยชนใ น
การรักษาพยาบาล
ดังนั้นตามอํานาจทางกฎหมายนั้นถือไดวา เจาพนักงานมีอํานาจใน
การขอดูเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของเพื่อใชประกอบการพิจารณา แมจะ
เปนไปโดยขัดสิทธิสวนบุคคลก็ตาม โดยถือวาบทบัญญัติการใหอํานาจ
ดังกลาวเปนสิ่งที่ทําใหการบังคับใชกฎหมายนั้น ๆ ใหสมบูรณ
( คําวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 469/2545 สิงหาคม 2545 )
ดวยเหตุนี้ หนวยงานของรัฐสามารถขอดูขอมูลเวชระเบียนไดโดย
ไมตองขออนุญาตตอทางเจาของขอมูลกอน แตตองมีกฎหมายใหอํานาจ
เชนนั้นไวอยางชัดเจน และโดยเฉพาะตองเปนประการที่ไมทําใหเกิด
* : พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 57 (2)36
ความเสียหายแกผูเปนเจาของขอมูล *
จากที่กลาวมาแลวขางตน การเปดเผยขอมูลดานสุขภาพที่บันทึกไว
ในเวชระเบียนจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน ดังนั้น
การที่ทางประชาชน หรือองคกรเอกชน จะทําการขอขอมูล หรือเอกสาร
ไดจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเปนลายลักษณอักษร เชน
บริษัทประกันชีวิตจะมาขอขอมูลสุขภาพจากทางสถานพยาบาล
เนื่องจากเจาของขอมูลมาทําประกันชีวิตกับทางบริษัท ฯ และทาง
บริษัท ฯจําเปนที่จะตองทําการตรวจขอมูลกอนเพื่อปองกันการหลอกลวง
ในการทําสัญญาประกันชีวิตจากการที่ผูมาขอทําประกันจะจาย
เบี้ยประกันนอยลงกวาที่เปนอยูทั้งที่ตนจะตองจายเบี้ยประกันที่สูงกวานั้น
ถาไมมีหนังสือยินยอมมาจากเจาของขอมูล ทางสถานพยาบาลก็
ไมสามารถใหขอมูลกับทางบริษัท ฯไดเปนตน
สรุปแลวการใหความยินยอมที่จะเปดเผยขอมูลดานสุขภาพนั้นตอง
ไดรับความยินยอมจากผูที่เปนเจาของขอมูลโดยทําเปนลายลักษณอักษร
( ทําเปนหนังสือ ) ไวหรือ ถาเปนเจาของขอมูลมาขอเองก็ตองมีหลักฐาน
ที่สามารถยืนยันถึงสถานะ สภาพตัวบุคคล ความสัมพันธระหวางบุคคล
ไดอยางชัดเจน จึงจะเปนหลักฐานการยืนยันที่ดีที่สุด
* : ปจจุบันยังคงเปนขอเถียงกันอยูในประเด็นนี้แตอยางไรก็ตามใหยึดถือตามคําวินิจฉัยของ
คณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 469/2545 สิงหาคม 2545 ไปกอน จนกวาจะมีการวินิจฉัยเปลี่ยนแปลงใน
ประเด็นดังกลาวตอไป ยกตัวอยางเชน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ใหอํานาจแก
เจาพนักงานที่จะขอขอมูลตางๆ อยางชัดเจน
กรณีททางประชาชน ี่ , องคกรเอกชน ขอขอมูลหรอเอกสาร ื37
ในบางกรณีที่ผูเปนเจาของขอมูลหรือผูมีอํานาจในการขอขอมูลหรือ
เอกสารเวชระเบียนนั้นไมมีหลักฐานที่สามารถระบุความถูกตองของ
ตัวบุคคลไดเนื่องจากสูญหาย หรือถูกทําลาย ยกตัวอยางเชน
1.) มาขอใบสูติบัตร เนื่องจากทําใบสูติบัตรหาย โดยปรากฏวา
ทางสถานพยาบาลไมมีหลักฐานหลงเหลือเพื่อมายืนยันวาผูที่มาขอขอมูล
เปนเจาของขอมูลจริง ซึ่งเปนเพราะวาระยะเวลานานมากแลวทําให
เอกสารนั้นสูญหาย
2.) มาแจงเกิดแลวแจงชื่อบิดาเปนชื่อเลน เวลามาขอใบสูติบัตร
กลับมาแจงชื่อบิดาเปนอีกชื่อหนึ่ง ซึ่งผูมาแจงอางวาเปนชื่อจริงของตน
ตามบัตรประจําตัวประชาชน แตที่ระบุไวในหลักฐานที่ทางสถานพยาบาล
เก็บไวเปนชื่อเลน โดยชื่อทั้งสองเปนของคน ๆเดียวกัน เปนตน
จากตัวอยางขางตนดังกลาว ทําใหการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เกิด
ปญหาขึ้นมาไดแมวาผูที่มาขอขอมูลจะยืนยันวาตนเปนเจาของขอมูลที่
แทจริงก็ตาม แตเจาหนาที่ก็ไมสามารถใหขอมูลหรือเอกสารไดเนื่องจาก
ไมมีเอกสารหลักฐานที่เจาหนาที่ไดเก็บไวมายืนยันกลับไป
และดวยเหตุที่วาหลักฐานทางเวชระเบียนเหลานี้มีความจําเปนตอ
การติดตอกับหนวยงานราชการ การสมัครงาน การเขาศึกษาตอใน
ทุกระดับชั้น การทําประกันชีวิต จนถึงการรักษาพยาบาล ซึ่งผูที่มาขอ
ขอมูล หรือเอกสารเวชระเบียนนั้นจําเปนตองใชและทางเจาหนาที่ก็ไม
สามารถใหไดดวยเหตุผลตามที่กลาวมาแลว แตปญหาทุกอยางมี
ทางออก จึงสามารถสรุปแนวทางการแกไขปญหาไดดังนี้
กรณีที่ผูมาติดตอ ฯ ทําหลักฐานบางอยางสูญหาย หรือ นํามาไมครบ38
1. หลักฐานที่สามารถระบุตัวบุคคลไดชัดเจน คือ
1.1 บัตรประจําตัวประชาชน
1.2 บัตรประจําตัวขาราชการ
1.3 บัตรประจําตัวพนักงานรัฐวิสาหกิจ
1.4 บัตรประจําตัวผูขับขี่รถ หรือ บัตรใบอนุญาตขับขี่
1.5 หรือบัตรประจําตัวอื่น ๆ ที่มีเลขประจําตัวประชาชน
13 หลัก ( แตตองมีการตรวจสอบใหแนชัดเสียกอน
วาขอมูลมีความถูกตอง เพราะสวนใหญเวลาติดตอ
ราชการมักจะไมนิยมใชเปนเอกสารหลักฐาน -
อางอิง )
2. หลักฐานที่สามารถระบุความสัมพันธระหวางบุคคล
ไดชัดเจน คือ
2.1 กรณีที่มีการสมรสกันถูกตองตามกฎหมาย คือ
มีใบสําคัญแสดงการสมรสหรือ ทะเบียนสมรส
2.2 กรณีที่ไมมีการจดทะเบียนสมรสกันถูกตองตาม
กฎหมาย หรือเอกสารดังกลาวเกิดการสูญหายไป : ใหใชเอกสาร
อยางหนึ่งอยางใด หรือ หลายอยางแลวแตกรณีดังนี้
2.2.1 กรณีที่เกิดการสูญหายตองมีใบสําเนาการแจง -
ความจากสถานีตํารวจมาแนบประกอบดวย เพราะ
เปนการยืนยันวาเอกสารไดสูญหายจริง เพราะวาถา
ไมจริงผูที่อางก็จะมีความผิดฐานแจงความเท็จ โดย
ถือวาทางเจาหนาที่ผูใหขอมูลไปไดกระทําโดยใช
ความระมัดระวังอยางดีที่สุดแลว หากเกิด39
ขอผิดพลาดเปนประการใด ก็ไมมีผลตอ
เจาหนาที่
2.2.2 หนงสั ือรับรองวาเปนสาม - ี ภรรยากันจริง โดย
ใหเจาพนักงานฝายปกครองเปนผูออกหนังสือ
รับรองใหคือ ผูใหญบาน หรือ กํานันที่อยูใน
พื้นที่เดียวกันกับผูที่อาง
2.2.3 หนงสั ือรับรองการศึกษาจากสถานศึกษาของ
ผูที่อางระบุวาไดศึกษาอยูที่สถานศึกษานี้จริง
2.2.4 ใบจดทะเบียนรับเด็กเปนบุตร ทงเปั้ นบ ุตรที่
นอกสมรส หรือ บุตรบุญธรรม
2.2.5 หนงสั ือรับรองวาเด็กเปนบ ุตร โดยให
เจาพนักงานฝายปกครองเป นผ ูออกหนังสอื
รับรองให คือ ผูใหญบาน หรือ กานํ นั ที่อยู
ในพื้นที่เดียวกับผูที่อาง ยกตัวอยางเชน
นายซอนกลิ่น อยูที่หมูบานกระโดง จ.ราชบุรีมาขอรับใบสูติบัตรกับ
ทางโรงพยาบาล แตอางวาไดทําเอกสารดังกลาวสูญหายไป โดยมี
ความประสงคที่จะนําใบสูติบัตรดังกลาวไปดําเนินการเอาชื่อบุตรของตนที่
มีอายุ 18 ปเขาทะเบียนบาน รวมทั้งทําบัตรประจําตัวประชาชนของ
บุตรดวย แตปรากฎวา ทางโรงพยาบาลไมมีหลักฐานดังกลาวอยูเลย
เพราะไดสูญหายไป จะทําประการใด
คําตอบคือ 1. ตองใหนายซอนกลิ่นไปแจงความเพื่อลงบันทึก
ประจําวันวาเอกสารดังกลาวไดสูญหายไป40
2. ใหนายซอนกลิ่นไปขอหนังสือรับรองวาตนเปนบิดา
ของเด็กจริง จากผูใหญบาน หรือกํานันของหมูบานกระโดง
3. ใหนายซอนกลิ่นไปขอหนังสือรับรองการศึกษาจาก
สถานศึกษาที่บุตรของตนไดเขารับการศึกษาครั้งลาสุด
3. การลงลายมือชื่อ
3.1 ถาใชการพิมพลายนิ้วมือ ตราประทับ เครื่องหมาย
อยางใดอยางหนึ่ง หรือ แกงได * แทนการลงลายมือชื่อจะตองมีพยาน
ลงลายมือชื่อรับรองลายพิมพนิ้วมือ หรือเครื่องหมายนั้น อยางนอย 2 คน
และสามารถถือวาพยานที่รับรองลายพิมพนิ้วมือหรือเครื่องหมายนั้นเปน
พยานรับรองเอกสารไปไดทีเดียว
3.2 ถาใชลายมือชื่อ ไมจําเปนตองมีพยานรับรอง
ลายมือชื่อคงจะมีแตเฉพาะพยานรับรองเอกสารเทานั้น
ดังนั้น ผูที่จะมาขอขอมูลทางเวชระเบียนจะตองมีหลักฐานที่
ใชยืนยันสถานภาพของตนเองใหชัดเจน หรือถาเปนผูอื่นมาขอขอมูลก็
ตองมีหนังสือยินยอมโดยตองทําเปนลายลักษณอักษร ( ทําเปนหนังสือ )
ซึ่งตรงจุดนี้ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองใชความรอบคอบ และ
ระมัดระวังเปนอยางมาก เพื่อปองกันปญหาที่จะตามมาใน
ภายหลัง
* : แกงได คือ รอยกากบาท รอยขีดเขียน ซึ่งคนไมรูหนังสือขีดลงไวเปนสําคัญใน
เอกสารหรือสัญญาตางๆ ( แตไมใชลายเซ็น)41
1. อนุสัญญาวาด วยสิทธิเด็ก ขอมูลจาก www.rakdek.or.th เมื่อวันที่
24 ตุลาคม 2552
2. แนวทางการสรุปเวชระเบียน โดย นายแพทยไชยยศ ประสานวงศ
ขอม ูลจาก www.med.cmu.ac.th เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2550
3. อนุสัญญาวาด วยสิทธิเด็ก ขอมูลจาก www.unicef.org เมื่อวันที่
24 ธันวาคม 2550
4. คําประกาศสิทธิผูปวย ขอมูลจาก www.elib-online.com เมื่อวันที่
25 ธันวาคม 2551
5. พระราชบญญั ัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ขอมูลจาก www.thaibar.thaigov.net
เมอวื่ ันที่ 26 ธันวาคม 2551
6. บทความพิเศษ เรื่องเวชระเบียน โดย ณฐั ตันศรีสวัสดิ์ภาควิชานิติเวช -
ศาสตรคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณหมาวิทยาลัย ขอมูลจาก
www.md.chula.ac.th เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2551
7. กฎหมายสัญชาติขอมูลจาก www.lawanwadee.com เมื่อวันที่
19 ตุลาคม 2551
8. ธีระพล อรณะกส ุ ิกรและคณะ.พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทาง -
ราชการ พ.ศ. 2540.กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,พ.ศ. 2549.
9. ธีระพล อรณะกส ุ ิกรและคณะ.พระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาที่ไมเปน-
ธรรม พ.ศ. 2540.กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,2549.
10. ธีระพล อรุณะกสิกรและคณะ.พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2550.กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,2549.
11. คณะวชาการ ิ Justice Group.ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
(ฉบับปจจบุ ัน).กรุงเทพ ฯ : บริษัท พีรภาส จํากัด,2549
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/data/env/law/knowledge/opd_handbook.pdf
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)