"วิสัยทัศน์" เป็นหน่วยงานเวชระเบียนที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยองค์ความรู้ด้านบริการและวิชาการที่ได้มาตรฐาน

กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียน


สิ่งแรกที่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานทางด้านเวชระเบียนสมควรต้องรู้ก็คือ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนี้ เพราะจะทำให้สามารถปฏิบัติงานใน
ขอบเขตของกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และไม่ก่อให้เกิดปัญหาตามมาใน
ภายหลัง โดยเฉพาะการกรอกข้อมูลต่าง ๆ ในเวชระเบียน หรือ
การรวบรวมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียน ................
 ซึ่งกฎหมายที่สําคัญๆ มีดังนี้
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2550 )
รัฐธรรมนูญถือว่าเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายที่
กําหนดแนวทาง ขอบเขต สิทธิเสรีภาพ อํานาจ หน้าที่ของทั้งบุคคล
ทั่วไปหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรต่างๆในประเทศไทย
ซึ่งทุกคนต้องปฏิบัติตาม โดยมีหลักอยู่ว่า ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
ซึ่งมีบัญญัติไว้อย่างชัดเจน ดังนี้
มาตรา 30 วรรคหนึ่ง “ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและ
ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมี
สิทธิเท่าเทียมกัน“ 
มีความหมายว่า บุคคลทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในทุกเรื่องไม่ว่า
จะเป็นสิทธิการศึกษา สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และนอกจากนี้ยังได้
มีการกําหนดความคุ้มครองสิทธิต่างๆของ บุคคลไว้ด้วย โดยเฉพาะ
ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูลการเงิน เป็นต้น โดยเฉพาะข้อมูลด้านสุขภาพ
นั้นถือได้ว่ามีความสําคัญอย่างมาก ซึ่งในกฎหมายรัฐธรรมนูญได้กําหนด5หลักไว้ว่า
“ การกล่าว หรือ ไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่า
ด้วยวิธีใดไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบสิทธิของ
บุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว
จะกระทํามิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ อีกทั้ง
บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงหาประโยชน์
โดยมิชอบจากข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตน ทั้งนี้ตาม
ที่กฎหมายบัญญัติ “ *
จากหลักที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญดังกล่าวจะเห็นว่ามี
ส่วนเกี่ยวข้องกับงานเวชระเบียนอยู่ ในเรื่องของข้อมูลในเวชระเบียนนั้น
ถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถเปิดเผยได้ไม่ว่าจะเป็นของชายหรือ
หญิง เว้นแต่มีเหตุจําเป็น ซึ่งกฎหมายรัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองไว้
อย่างชัดเจน
2. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550
เป็นกฎหมายที่ออกมาเพื่อให้เกิดการดูแลรักษาด้านสุขภาพของ
ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน อีกทั้งต้องได้รับการดูแลเป็น
อย่างดีด้วย เพราะตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้
บัญญัติไว้ในเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจน ตามมาตรา 56 , 76 และ มาตรา 82 
รวมทั้งเป็นการสร้างแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในเรื่อง
การให้บ ริการด้านการสาธารณสุข ทั้งทางด้านข้อ มูลและ
การรักษาพยาบาลรวมถึงการวิจัยทางการแพทย์
โดยก่อนที่จะทราบว่าพระราชบัญญัติดังกล่าวมีความเกี่ยวข้อง
* : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2550 ) มาตรา 35 6 
กับงานเวชระเบียนอย่างไร ควรจะทราบถึงขอบเขตของกฎหมายฉบับนี้
ก่อนว่ามีอะไรบ้าง
ขอบเขตของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550 มีดังนี้
 1.) สิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพ ได้แก่
 - การให้ความยินยอมรับการบริการสาธารณสุขของ
ผู้รับบริการ
 - การเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล
 - การมีสทธิ รับทราบข ้อเท็จจริงการให้บริการสาธารณสุข
 - ลักษณะวิธีปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือบุคลากร
ทางด้านสาธารณสุข
 2.) อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
 3.) อํานาจหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
 4.) สมัชชาสุขภาพ
 5.) ธรรมนูญว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติซึ่งกำหนดขอบเขต
สาระสําคัญว่าต้องประกอบด้วยเรื่องอะไรบ้าง โดยธรรมนูญ
นถี้ือได้ว่ามีลําดับศั ักดิ์ทางกฎหมายรองลงมาจากรัฐธรรมนูญ
แตกต่างกันตรงที่ว่า อํานาจของกฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นจะใช้
กับทางเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งโดยต้องอยู่ภายในขอบเขตของ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
เมื่อพิจารณาขอบเขตที่กล่าวข้างต้นแล้วพบว่า ส่วนที่เกี่ยวข้อง
ใกล้ชิดกับงานเวชระเบียนมากที่สุดคือ เรื่องของสิทธิด้านสุขภาพ
โดยเฉพาะในเรื่องของข้อมูลด้านสุขภาพและการให้ความยินยอมใน
การรับบริการสาธารณสุข7 
เนื่องจากข้อมูลด้านสุขภาพเป็นข้อมูลของสุขภาวะ ประวัติ
สุขภาพ ประวัติการรับการรักษาพยาบาล ซึ่งจัดได้ว่าเป็นความลับ
ส่วนบุคคล มีความสําคัญทั้งทางการแพทย์และทางด้านการจัดการ
งานต่างๆ โดยยังอาจมีความสําคัญต่อชีวิตได้เช่น ในเรื่องปัญหาของ
การรับมรดกเอง หรือเป็นเจ้ามรดก หรือ รับสิทธิต่างๆอันพึงมีพึงได้
ของผู้ที่เป็นเจ้าของข้อมูล ส่วนจะสําคัญมากน้อยแค่ไหนจะกล่าวให้ทราบ
ในภายหลัง และยังมีในเรื่องของการให้ความยินยอมรับการบริการฯ ด้วย
ก็เช่นกัน เพราะปัจจุบันมีปัญหาร้องเรียน หรือแม้แต่ฟ้องร้องเป็นคดี
ความขึ้นสู่ศาลกันมากมายหลายคดีและมีหลายคดีที่ทางสถานบริการ
ด้านการสาธารณสุข หรือบุคลากรด้านการสาธารณสุขเองต้องตกเป็น
ฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ สืบเนื่องมาจากการที่ขาดหลักฐานเอกสารต่างๆ
มายืนยัน เพราะส่วนใหญ่มักจะอ้างว่า สถานบริการด้านการสาธารณสุข
หรือ บุคลากรด้านการสาธารณสุขให้การรักษาที่ไม่ถูกต้องและประมาท
เลินเล่อ โดยผู้รับบริการไม่อาจโต้แย้งหรือคัดค้านได้เลย จึงจําเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องมีการแจ้งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการให้โอกาสแก่
ผู้รับบริการที่จะตัดสินใจรับหรือไม่รับบริการดังกล่าวได้ ทําให้ต้องมี
เอกสารในการยินยอมรับการบริการด้านการสาธารณสุขประกอบกับ
เอกสารอื่น ๆ ในงานเวชระเบียนด้วย
สรุปแล้วปัจจุบันจึงมีพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550 
ออกมาเพื่อคุ้มครองทั้งผู้มาขอรับบริการสาธารณสุข สถานบริการ
ด้านการสาธารณสุข และ บุคลากรด้านการสาธารณสุขในเรื่องดังกล่าว8 
 3. พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
เหตุที่พระราชบัญญัติฉบับนี้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
งานด้านเวชระเบียน ก็เพราะว่าตามที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2550 ได้กําหนดขอบเขตไว้ว่า บุคคลใดก็ตามที่มาขอรับบริการ
สาธารณสุข หรือ จะถูกใช้ในงานวิจัยทางด้านสาธารณสุข ต้องให้
ความยินยอม หรือ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้มาขอรับบริการ
ตามลําดับ รวมทั้งผู้มาขอรับบริการมีสิทธิได้รับทราบข้อเท็จจริงใด ๆ
ก่อนที่ทางสถานบริการฯจะให้บริการด้วย จึงต้องมีการทําหนังสือ
ยินยอม หรือ ไม่ยินยอมรับบริการสาธารณสุขขึ้น เพื่อให้เป็นไปตาม
บทบัญญัติในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550 
โดยหนังสือยินยอมดังกล่าวจัดว่าเป็นนิติกรรมสัญญารูปแบบหนึ่ง
ซึ่งอาจระบุข้อความใด ๆอันเป็นเงื่อนไข หรือ ความตกลงไว้ในหนังสือ
ยินยอมดังกล่าวได้ ทั้งนี้ในบางกรณีอาจจะไม่เป็นธรรมแก่คู่กรณี
อีกฝ่ายหนึ่ง เช่น มีข้อความว่าหากเกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ผู้รับบริการ
ไม่สามารถเรียกร้องหรือฟ้องร้องใด ๆ เอาแก่ผู้ให้บริการได้เป็นต้น
ด้วยเหตุนี้จึงต้องนําพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม
มาคํานึงประกอบกับการจัดทําสัญญา หรือ หนังสือดังกล่าว เพื่อป้องกัน
ปํญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา
 4. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ส่วนหนึ่งของงานเวชระเบียนจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลที่แสดง
สถานะของบุคคล เช่น ชื่อสกุล สถานะการสมรส หรืออํานาจกระทํา
การใด ๆ ของผู้รับบริการ ฯ ที่จะกระทําได้เช่น อํานาจที่จะให้9 
ความยินยอมของผู้รับบริการฯ ที่เป็นผู้เยาว์ เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลถึง
ความสมบูรณ์ถึงเอกสารหลักฐาน การกระทําใด ๆ ห รือ แม่แต่
การดําเนินการในส่วนที่เป็นสิทธิที่ผู้รับบริการฯจะพึงได้รับ เช่น สิทธิตาม
ประกันสังคม เป็นต้น
โดยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวมาข้างต้นโดยตรงก็คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพราะว่าเป็นกฎหมายที่กําหนด
บทบาท หน้าที่ การรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน การกระทําการใด ๆ
เชน นิติกรรม สัญญา สภาพบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
ของบุคคลทั่วไปเป็นประจําอยู่แล้ว โดยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
ทางด้านงานเวชระเบียนและการให้บริการในด้านต่างๆจะมีดังนี้
 1.) สภาพบุคคล : สิทธิและหน้าที่ของผู้เยาว์โดยที่ผู้เยาว์ตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์นี้มีความหมายว่า ผู้เยาว์คือ บุคคลที่
มีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
 2.) นิติกรรมสัญญา : ซึ่งเป็นข้อพิจารณาที่ต้องดูควบคูุไปกับ
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
 3.) การละเมิด : เป็นเรื่องที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก
การรับบริการจากบุคลากร หรือ หน่วยงานด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิด
จากความประมาทเลินเล่อ หรือ จงใจก็ตาม อีกทั้งยังกําหนดขอบเขต
ของการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนว่าจะเรียกร้องอะไรได้บ้าง
 4.) อํานาจผู้ปกครอง : ใช้ในเรื่องของอํานาจการให้
ความยินยอมในกรณีที่ผู้มาขอรับบริการเป็นผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ
หรือ บุคคลวิกลจริต ซึ่งส่วนรายละเอียดจะกล่าวในภายหลัง10 
5. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ( Convention on the right of 
the child)
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเป็นสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่าง
ประเทศที่ได้รับความเห็นชอบมากที่สุดในโลก โดยทุกประเทศในโลกได้ให้
สัตยาบัน ยกเว้นประเทศโซมาเลีย และสหรัฐอเมริกา
ในปีพ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาฉบับนี้
ระบุความละเอียดของสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ ไว้ว่าทุกประเทศต้อง
รับประกันเด็กในประเทศของตน หนึ่งในนั้นได้แก่ สิทธิที่จะมีชีวิตรอด
กล่าวคือ การได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ดีนั่นเอง
โดยเด็กตามความหมายในอนุสัญญาฉบับนี้จะต่างกับในประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตรงที่ว่า เด็กตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
หมายถึง บุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ เว้นแต่จะได้บรรลุ
นิติภาวะโดยเหตุอย่างอื่นที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ซึ่งจะกล่าวในภายหลัง
อันจะมีผลในเรื่องของขอบเขตอํานาจ หรือ สิทธิของเด็กที่จะเข้ามาขอรับ
บริการจากสถานพยาบาลว่า สามารถกระทําเองได้เพียงใด
 6. คําประกาศสิทธิผู้ป่วย
สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลใช้ยันกับผู้อื่นเพื่อ
คุ้มครอง หรือ รักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนอันพึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น
สิทธิผู้ป่วย จึงหมายถึง ความชอบธรรมที่ผู้ป่วยซึ่งรวมถึงผู้ที่ไป
รับบริการด้านสุขภาพต่างๆจะพึงได้รับ เพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของ
ตนเอง โดยไม่ละเมิดถึงสิทธิของผู้อื่น แม้ว่าที่ผ่านมาความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ป่วยและผู้ใช่บริการด้านสุขภาพสาขาต่างๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน11 
ของความเกื้อกูลกัน น้ำใจ และไว้วางใจซึ่งกันและกัน แต่
ความสลับซับซ้อนทางสังคม และกระแสของวัฒนธรรมทางธุรกิจนั้นได้
เพิ่มขยายความขัดแย้งทางจริยธรรมมากขึ้น ทําให้ต้องมีบทบัญญัติ
ทั้งในทางกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์กฎหมายคุ้มครอง
ผู้บริโภค และข้อบังคับทางจริยธรรมแห่งวิชาชีพสาขาต่างๆ เพื่อจัด
ระเบียบการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และ
บริการด้านสุขภาพต่างๆให้เข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นในหลายประเทศจึงได้มีการประกาศสิทธิผู้ป่วย หรือ
กฎบัตรผู้ป่วยขึ้น เพื่อรับรองให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงาน สําหรับ
ประเทศไทยองค์กรสภาวิชาชีพด้านสุขภาพ ได้เล็งเห็นประโยชน์ที่จะ
รวบรวมสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ป่วยตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติที่สอดคล้อง
กับวิถีไทย จัดทําเป็นประกาศเพื่อให้รู้ทั่วกันทั้งประชาชน ผู้ป่วย และ
ผู้ให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ ทั้งแพทย์พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร
และผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาต่างๆโดยมุ่งหวังที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจ
อันดีลดความขัดแย้ง และนําไปสู่ความไว้วางใจ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่นําไป
สู่ผลการรักษาพยาบาลที่ดีโดยคําประกาศสิทธิผู้ป่วยมี 10 ข้อ ดังนี้
ข้อที่ 1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับบริการ
ด้านสุขภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เนื่องจากในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนั้นมีข้อกําหนด
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของคนไทย ระหว่างผู้ป่วยและผู้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมรวมไปถึงการให้บริการด้านสุขภาพต่างๆ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นในการดูแลผู้ใช้บริการทุกรายต้องดูแลเป็็นอย่างดี
อย่างสมเหตุสมผล และตัดสินใจให้การดูแลเป็นราย ๆ ตาม12 
ความเหมาะสมกับอาการ หรือ โรคที่เป็นด้วยวิจารณญาณและความรู้ใน
วิชาชีพ รวมทั้งต้องรู้สิทธิอันพึงมีพึงได้ของผู้รับบริการ เช่น ผู้ยากไร้
เด็กอายุ 0 – 12 ปีหรือ ผู้ที่มีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพยาบาลจาก
สถานบริการของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ข้อที่ 2 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
สุขภาพโดยไม่เลือกปฏิบัติเนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ
ศาสนา ลัทธิการเมือง เพศ อายุและลักษณะของความเจ็บป่วย
ดังนั้นผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการสุขภาพในมาตรฐานที่ดี
ที่สุดตามฐานานุรูป โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติทั้งนี้มิได้หมายความรวมถึง
สิทธิอื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนือบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น การไม่ต้องชําระ
ค่ารักษาพยาบาล การพักในห้องพิเศษต่างๆและบริการพิเศษอื่น ๆ
เป็นต้น
ขอที่ 3 ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิที่จะไดรับขอมูล
อยางเพียงพอ จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพเพื่อใหผูปวยสามารถ
เลือกตัดสินใจในการยินยอม หรือไมยินยอมใหประกอบวิชาชีพ
ดานสุขภาพปฏิบัติตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน
สิทธิที่จะรับรูขอมูลขาวสารและตัดสินใจในการทําบําบัดรักษา
โรคภัยที่เกิดขึ้น นับเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของผูปวยซึ่งผูประกอบวิชาชีพ
ดานสุขภาพตองอธิบายใหผูปวยทราบถึงอาการ การดําเนินโรค วิธี
การรักษาความยินยอมของผูปวยนั้นจึงจะมีผลตามกฎหมาย ซึ่งเรียกวา
ความยินยอมที่ไดรับการบอกกลาว ( Informed Consent ) ยกเวน
การชวยเหลือในกรณีรีบดวนฉุกเฉิน ซึ่งจําเปนตองกระทําเพื่อชวยชีวิต13 
ผูปวยตามขอ 4 และคําประกาศสิทธิขอนี้เองที่ถือวาเปนสวนหนึ่งของ
การที่ผูใหบริการดานสุขภาพจําตองไดรับความยินยอมจากผูปวยเสียกอน
ขอที่ 4 ผูปวยที่อยูในสภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิ
ที่จะไดรับความชวยเหลือรีบดวนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดย
ทันที ตามความจําเปนแกกรณีโดยไมคํานึงวาผูปวยจะรองขอ
ความชวยเหลือหรือไม
การชวยเหลือผูปวยในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต ถือวาเปน
จริยธรรมแหงวิชาชีพขั้นพื้นฐาน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพจะตอง
ดําเนินการโดยทันทีเมื่อตนอยูในฐานะที่จะใหความชวยเหลือได
การชวยเหลือในลักษณะเชนนี้นับวาเปนความจําเปนในการชวยชีวิต
แมวาจะไมไดรับการรองขอจากผูปวย ซึ่งบอยครั้งก็ไมอยูในสภาพมีสติ
พอที่จะรองขอไดถือวาเปนการกระทําโดยความจําเปน ไมมีความผิด
แตการที่ปฏิเสธความชวยเหลือนับวาเปนการละเมิดขอบังคับแพทยสภา
วาดวยการรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526 และอาจผิด
กฎหมายอาญาไดดวย
ขอที่ 5 ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับทราบชื่อ สกุล และประเภทของ
ผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพที่เปนผูใหบริการแกตน
ในสถานพยาบาลตางๆจะมีผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพตางๆ
หลายสาขาปฏิบัติงานรวมกันในการชวยเหลือผูปวยกับบุคลากรผูชวย
ตางๆ หลายประเภท ซึ่งบอยครั้งกอใหเกิดความไมแนใจและความไม
เขาใจแกผูปวยและประชาชนทั่วไป ดังนั้นการกําหนดใหผูปวยมีสิทธิที่จะ
สอบถามชื่อ และโดยเฉพาะอยางยิ่งประเภทของผูประกอบวิชาชีพที่
ใหบริการแกตน จึงชวยผูปวยในฐานะผูบริโภคกลาที่จะสอบถามขอมูลที่14 
จะชวยใหเกิดความเขาใจและสามารถตัดสินใจเพื่อคุมครอง
ความปลอดภัยของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหบริการซึ่งไมมีคุณภาพ
เพียงพอ
ขอที่ 6 ผูปวยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผูประกอบวิชาชีพดาน
สุขภาพอื่น ๆ ที่มิไดเปนผูใหบริการแกตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยน
ผูใหบริการและสถานบริการได
สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัย ( The right to safety ) สิทธิที่จะ
ไดรับขาวสาร ( The right to be informed ) สิทธิที่จะบอกเลิก
( The right to choose ) นับเปนสิทธิที่สําคัญของผูบริโภคสินคาและ
บริการ ซึ่งรวมถึงการบริการทางดานสุขภาพ ในวัฒนธรรมปจจุบันผูปวย
ยังมีความเกรงใจและไมตระหนักถึงสิทธินี้ ทําใหเกิดความไมเขาใจเมื่อ
ผูปวยขอความเห็นจากผูใหบริการตอสุขภาพของผูอื่น หรือไมให
ความรวมมือในการที่ผูปวยจะเปลี่ยนผูใหบริการหรือสถานบริการ
การกําหนดสิทธิผูปวยในประเด็นนี้ใหชัดแจง จึงมีประโยชนที่จะลด
ความขัดแยงและเปนการรับรองสิทธิผูปวยที่จะเลือกตัดสินใจดวยตนเอง
ขอที่ 7 ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับการปกปดขอมูลที่เกี่ยวกับตนเอง
จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยเครงครัด เวนแตจะไดรับ
ความยินยอมจากผูปวยหรือการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย
สิทธิสวนบุคคลที่จะไดรับการปกปดขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยนี้
ถือวาเปนสิทธิผูปวยที่ไดรับการรับรองมาตั้งแตคําสาบานของ Hippocratis
ซึ่งประเทศไทยก็ไดรับรองสิทธินี้ในกฎหมายอาญาแหงประมวลกฎหมาย
อาญา นอกจากนี้ยังมีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ พ.ศ. 2540 ขอบังคับของแพทยสภาวาดวยการรักษา-15 
จริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526 หมวด 3 ขอ 9 และ
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ซึ่งถือไดวาสังคมให
ความสําคัญกับสิทธิผูปวยในขอนี้มาก เพราะถือวาเปนรากฐานที่ผูปวยให
ความไววางใจตอแพทยเพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลตนเอง
แตอยางไรก็ตาม ก็มีขอยกเวนในกรณีที่มีเหตุผลและ
ความจําเปนที่เหนือกวา เชน การปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย หรือ
การคุมครองประโยชนสาธารณะเพื่อความสงบเรียบรอยและความมั่นคง
ของประชาชน หรือในกรณีที่คุมครองอันตรายรายแรงของบุคคลอื่น
การเปดเผยขอมูลตอศาล การแจงขอมูลตอบุคคลที่สามเพื่อคุมครอง
อันตรายรายแรงของบุคคลอื่น เปนตน โดยนอกจากนี้แลวตาม
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ยังไดวางหลักไวในเรื่องนี้
ดวย จึงจําเปนที่ผูใหบริการดานสุขภาพตองมีความระมัดระวังไมใหขอมูล
ดานนี้ถูกเปดเผยโดยไมจําเปน ( ฝาฝนตอบทบัญญัติของกฎหมาย ) 
จึงถือไดวา คําประกาศสิทธิผูปวยขอนี้มีความสําคัญอยางยิ่งตอ
งานเวชระเบียนเปนอยางมาก
ขอที่ 8 ผูปวยมีสิท ธิที่จะไดรับขอมูลอยางครบถวนใน
การตัดสินใจเขารวม หรือถอนตัวจากการเปนผูถูกทดลองในการทําวิจัย
ของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ
ในปจจุบันมีความจําเปนในการทดลองมนุษยเพื่อความกาวหนา
ในทางการแพทยมีมากขึ้น ประเทศไทยยังไมมีบทบัญญัติในกฎหมายที่
เกี่ยวกับการทดลองในมนุษย โดยเฉพาะขอบังคับแพทยสภาวาดวย
การรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพ พ.ศ. 2526 หมวด 1 ขอ 6 ระบุวา16 
“ ขอ 6 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูทําการทดลองในมนุษยตอง
ไดรับความยินยอมจากผูถูกทดลอง และตองพรอมที่จะปองกันผูถูก
ทดลองจากอันตรายที่เกิดขึ้นจากการทดลองนั้นๆ“ 
ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 
มาตรา 9 ก็มีบัญญัติในเรื่องดังกลาวดวยเชนกัน คือ
“ ในกรณีที่ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขประสงคใช
ผูรับบริการเปนสวนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย ผูประกอบวิชาชีพ
ดานสาธารณสุขตองแจงผูรับบริการกอนจึงจะดําเนินการได
ความยินยอมดังกลาว ผูรับบริการจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได“ 
ขอ ที่ 9 ผูปวยมีสิท ธิที่จะไดรับทราบขอ มูลเกี่ยวกับ
การรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อรองขอ ทั้งนี้
ขอมูลดังกลาวตองไมเปนการละเมิดสิทธิสวนตัวของบุคคลอื่น
การที่แพทยบันทึกประวัติการเจ็บปวยและการรักษาตางๆของ
ผูปวยในเวชระเบียนอยางละเอียด นับเปนเครื่องมือที่สําคัญในการให
การรักษาพยาบาลผูปวยอยางตอเนื่องและคุณภาพ นับเปนมาตรฐาน
ของการประกอบเวชกรรมสากล อยางไรก็ตามขอมูลที่ปรากฏใน
เวชระเบียนถือเปนขอมูลสวนบุคคล ซึ่งเจาของประวัติมีสิทธิที่จะได
รับทราบขอมูลได โดยสิทธินี้ไดรับการรับรองตามพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 อยางไรก็ตามเนื่องจากขอมูลในเวชระเบียน
อาจมีบางสวนซึ่งเปนการแสดงความเห็นของแพทยในการรักษาพยาบาล
และอาจกระทบตอบุคคลอื่น ๆไดดังนั้นการเปดเผยขอมูลใหผูปวยทราบ
จะตองเปนการละเมิดสวนตัวของบุคคลอื่น ทั้งนี้รวมถึงกรณีผูปวย
ยินยอมใหเปดเผยขอมูลของตนตอบุคคลที่สามยกเวนในกรณีที่มี17 
การประกันชีวิต หรือสุขภาพ
ขอที่ 10 บิดามารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรมอาจใชสิทธิแทน
ผูปวยที่เปนเด็กอายุยังไมเกิน 18 ปบริบูรณ ผูบกพรองทางกาย หรือ
จิตใจ ซึ่งไมสามารถใชสิทธิดวยตนเองได
สําหรับผูบกพรองทางกายและจิตใจนั้น ตองถึงขนาดวา
ไมสามารถเขาใจหรือตัดสินใจดวยตนเอง เชน วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอน
ไมสมประกอบ สวนใครจะเปนผูแทนโดยชอบธรรมนั้นจะกลาวใน
ตอนตอไป
ดังจะเห็นไดวางานดานเวชระเบียนนั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวของอยู
หลายฉบับ ซึ่งถาปฏิบัติงานไมอยูในกรอบของกฎหมายแลวอาจจะนําพา
ความยุงยากมาสูผูปฏิบัติงาน หรือหนวยงานได ดวยเนื่องจากวา
เวชระเบียนเปนเอกสารหลักฐานที่สําคัญเปนอยางยิ่ง ทั้งทาง
ดานการแพทยเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หรือ เมื่อมีการรองเรียน
มีการฟองรองเปนคดีขึ้นสูศาล ก็สามารถใชเปนหลักฐานที่สําคัญใน
การอางอิงเปนพยานตอการสอบสวน หรือ สืบพยาน หากเวชระเบียนนั้น
ไดกระทําโดยไมอยูในกรอบของกฎหมายแลว การที่จะอางมาเปน
พยานหลักฐานนั้นก็จะมีน้ําหนักนอย และอาจจะเปนการพาดพิงถึง
การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่เวชระเบียนวามีความประมาทเลินเลอจน
ทําใหเกิดความเสียหายได18 
เวชระเบียน เปนเอกสารที่มีความสําคัญทางการแพทยเปนอยางมาก
โดยมีประโยชนดังตอไปนี้
♦ เปนหลักฐานทางกฎหมาย
♦ เปนเครื่องมือในการดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง
♦ เปนแหลงขอมูลในการศึกษาและวิจัย
♦ เปนแหลงในการรวบรวมขอมูลเพื่อวิเคราะห
♦ วิธีในการประเมินคุณภาพการรักษา
♦ เปนเครื่องมือในการสื่อสารระหวางบุคลากรทางสาธารณสุข
♦ เปนหลักฐานในการเบิกเงินจากกองทุนตางๆ
ดวยเหตุนี้การสรุปเวชระเบียนที่มีคุณภาพ ตองมีองคประกอบที่
ครบถวนชัดเจน ทั้งสวนที่ใชในการวินิจฉัย การรักษาผูปวย และใน
การดําเนินการตางๆในกระบวนการยุติธรรม
แพทยสภาไดกําหนดแนวทางในการบันทึกเวชระเบียนออกเปน
• เวชระเบียนผูปวยนอก
• เวชระเบียนผูปวยใน
• เวชระเบียนเมื่อมีการทําหัตถกรรม
แตอยางไรก็ตาม หลักสําคัญในการบันทึกเวชระเบียนนั้นจะมี
ลักษณะเหมือนกันซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้
*
1.) การบันทึกขอมูลทางคลินิกเปนความรับผิดชอบของแพทย
ผูดูแลรักษาผูปวย ซึ่งอาจรวมถึงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของไดเชน พยาบาล
* : ณัฐ ตันศรีสวัสดิ์ภาควิชานิติเวชศาสตรคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย19 
หรือเจาหนาที่ทางเวชระเบียน เปนตน
 2.) การบันทึกขอมูลทําดวยตนเอง หรือกํากับตรวจสอบให
ผูอื่นบันทึกใหถูกตอง
 3.) บันทึกประวัติอาการสําคัญ
 4.) ประวัติการแพยา สารเคมีหรือสารอื่น
 5.) สัญญาณชีพ ( Vital Signs ) 
 6.) ผลการตรวจรางกายผูปวยที่ผิดปกติหรือมีความสําคัญ
ตอการวินิจฉัย หรือใหการรักษาแกผูปวย
 7.) ปญหาของผูปวย หรือการวินิจฉัยโรค หรือการแยกโรค
 8.) การสั่งการรักษาพยาบาล รวมตลอดถึงชนิดของยา และ
จํานวนยา
 9.) ในกรณีที่มีการหัตถกรรม ควรมีบันทึกเหตุผล
ความจําเปนของการทําหัตถกรรม ใบยินยอมของผูปวย หรือผูแทน
ภายหลังที่ไดรับทราบเขาใจถึงขั้นตอน ผลดีและอาการแทรกซอนที่อาจ
เกิดจากการทําหัตถกรรม
 10.) คําแนะนําอื่น ๆ ที่ใหแกผูปวย
 11.) การบันทึกเวชระเบียนนั้นควรเขียนใหอานออก
อานงายและชัดเจน ในประเด็นนี้มีความสําคัญคอนขางมากหากเกิด
การฟองรองดําเนินคดีในชั้นศาล เพราะถือวาเวชระเบียน เปน
พยานหลักฐานสําคัญในการใหการรักษาพยาบาลแกบุคคล
หากพยานหลักฐานดังกลาวไมมีความชัดเจน ยอมทําใหผูที่ตองอาง
พยานหลักฐานเสียเปรียบในเชิงอรรถคดีหรือเสียผลประโยชนโดย
ไมจําเปน20 
 12.) การบันทึกเวชระเบียนนั้นไมควรใชอักษรยอที่ไมเปน
สากล เพราะจะทําใหไมสามารถสื่อความหมายไดถูกตอง หรือการแปล
ความหมายโดยผูอื่นนั้นผิดพลาดไปไดซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูที่มา
รับการรักษา หรือแมกระทั่งในการตอสูเชิงอรรถคดีตามกระบวน
การยุติธรรมก็สามารถทําใหเกิดการเสียเปรียบไดซึ่งคลายกับการบันทึก
เวชระเบียนที่ไมชัดเจน อานไมออกนั่นเอง
 13.) การสั่งการรักษาพยาบาลดวยคําพูด หรือทางโทรศัพท
จะทําไดเฉพาะกรณีที่มีความจําเปนเรงดวนเพื่อความปลอดภัยของผูปวย
หรือในกรณีการรักษาที่ไมกอใหเกิดผลรายตอผูปวย ทุกครั้งที่สั่งการรักษา
ดวยคําพูดหรือทางโทรศัพทแพทยผูสั่งการรักษาตองลงนามกํากับทาย
คําสั่งโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําไดและอยางชาที่สุดไมควรเกิน 24 ชั่วโมง
ภายหลังการสั่งการรักษาดังกลาว
 13.) บันทึกเวชระเบียนควรมีความสมบูรณอยางชาภายใน
15 วัน หลังจากผูปวยถูกจําหนายออกจากการรักษาพยาบาล
 14.) เพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลผูปวยใหตอเนื่อง
ควรเก็บรักษาบันทึกเวชระเบียนไวอยางนอยที่สุด 5 ปนับจากวันที่ผูปวย
มาติดตอรับการรักษาครั้งสุดทาย
 15.) และกอนที่สถานพยาบาลจะทําลายเวชระเบียนควรไดมี
การประกาศเพื่อใหผูปวยที่ยังประสงคจะใชประโยชนจากขอมูลใน
เวชระเบียนสามารถคัดคานการทําลาย หรือทําการคัดลอก คัดสําเนา
ขอมูลเฉพาะสวนของตนเพื่อประโยชนตอไป21 
ในอดีตนั้น บุคคลใดที่ตองการไดรับการบริการดานสาธารณสุข เมื่อ
บุคคลนั้นไปติดตอขอรับบริการจากสถานบริการทางดานสาธารณสุข
สถานบริการนั้นสามารถใหการบริการไดทันทีแตในปจจุบันไดมีการตรา
พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งไดบัญญัติในเรื่อง
ดังกลาวไววา กอนที่สถานบริการทางดานสาธารณสุขนั้นจะใหบริการ
ใด ๆ ตองไดรับความยินยอมจากผูที่มาขอรับบริการกอน
ดวยเหตุนี้จึงเกิดประเด็นปญหาตามมาอีกวา ในกรณีที่ผูมาขอรับ
บริการที่เปนเด็ก ซึ่งยังมีอายุไมครบ 20 ปบริบูรณนั้น ซึ่งตามกฎหมาย
ถือวายังไมบรรลุนิติภาวะ*
ทําใหเด็กถูกกําจัดสิทธิบางประการ โดยจะสามารถใหความยินยอม
ไดเอง หรือตองมีผูหนึ่งผูใดใหความยินยอมแทนหรือไมอยางไร
แมวาในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดบัญญัติไววา ใหทุกคน
ไมจํากัดเพศ อายุ การศึกษา ฐานะ ตองไดรับบริการทางดาน
การสาธารณสุขอยางเทาเทียมกัน ดังนั้น แมวาผูรับบริการจะเปนเด็กที่
ยังไมบรรลุนิติภาวะมาขอรับบริการจากสถานบริการดานสาธารณสุข
ก็ตองใหบริการโดยไมเลือกปฏิบัติแตเมื่อพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวของ
กับสภาพ สิทธิหนาที่ของบุคคลโดยตรง คือ ประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย ที่กําหนดขอบเขตอํานาจกระทําการใด ๆ ของผูเยาวไว
* : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1922 
อยางชัดเจน คือ
“ ผูเยาว ( ผูอายุยังไมครบ 20 ปบริบูรณ ) ไมสามารถทํานิติกรรม
ใด ๆไดเอง ถาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม “
1
โดยการลงชื่อใหความยินยอมถือวาเปนการทํานิติกรรมอยางหนึ่ง
แตทั้งนี้กฎหมายไดเปดชองไววา
“ ผูเยาวสามารถกระทําการใด ๆอันเปนการเฉพาะตัวของผูเยาวได
เอง“ 
2
ดังนั้นจึงถือวา การขอรับบริการทางดานสาธารณสุขนั้น เปน
การเฉพาะตัวของผูเยาว โดยเปนไปตามขอกําหนดตามรัฐธรรมนูญที่
กลาวมาขางตน นอกจากนี้ตามคําประกาศสิทธิผูปวยไดกําหนดไววา
“ บิดามารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรมอาจใชสิทธิแทนผูปวยที่เปนเด็ก
อายุยังไมเกิน 18 ปบริบูรณ“
3
นั่นก็แสดงวา เด็กนั้นสามารถมารับ
บริการดานสาธารณสุขโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดย
ชอบธรรมได
เมื่อกฎหมายไดเปดชองไวเชนนี้ ทําใหเด็กที่มีอายุไมเกิน 20 ป
บริบูรณจึงสามารถลงชื่อใหความยินยอมในการรับบริการหรือใหบริการ
ของสถานบริการดานสาธารณสุขไดเอง โดยไมตองใหผูแทนโดย
ชอบธรรมยินยอมเสียกอน
แตในบางกรณีที่ตองทําหัตถกรรมพิเศษ เชน ผาตัด คลอดบุตร
การรักษากรณีที่วินิจฉัยแลวพบวาเปนโรครายแรง ถาไมใชกรณีเรงดวน
1 : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 21 
2 : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 23 
3 : คําประกาศสิทธิผูปวยขอที่ 10 23 
หรือไมมีผูใดมีอํานาจใหความยินยอมไดการลงชื่อใหความยินยอม หรือ
เพิกถอนการรักษาจําตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน
เพราะถึงแมวากฎหมายจะเปดชองไวใหสําหรับเด็กก็ตาม แตในทาง
ปฏิบัติยังถือวา เด็กนั้นยังมีความรูสึกผิดชอบไมมากพอที่จะตัดสินใจใน
การกระทํา หรือยินยอม ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดเอง
ตามเหตุที่กลาวมาขางตน สามารถสรุปเปนแผนผังในหนาถัดไปได
ดังนี้24 
ผูแทนโดยชอบธรรม
บิดา มารดา
จดทะเบียนสมรส
บิดา มารดา มีสิทธิใหความยินยอมไดทั้ง 2 คน
ไมจดทะเบียนสมรส
บิดาไมไดจดทะเบียนรับรองเด็กเปนบุตร
- ไมถือวาบิดาเปนผูแทนโดยชอบธรรมจึงไมมี
สิท ธิลงลายมือ ชื่อในเอกสารใด ๆ ที่เปน
การยินยอมใหผูเยาวทําการใด ๆ ทั้งสิ้น จึงตองให
มารดาเปนผูใหความยินยอมแทน ( ยกเวนการรับ
มรดก ) 
บิดาจดทะเบียนรับรองเด็กเปนบุตร หรือ ศาลพิพากษา
วาเด็กเปนบุตรของบิดาโดยชอบดวยกฎหมาย
- บิดาเปนผูแทนโดยชอบธรรมไดเชนเดียวกับ
มารดาของเด็ก จึงมีสิทธิลงลายมือชื่อในเอกสาร
ใด ๆเพื่อใหความยินยอมแกผูเยาวได
ผูปกครองที่มีอํานาจตามกฎหมาย
ผูที่ดูแลผูเยาวอยูในขณะนั้น
โดยชอบดวยกฎหมาย
( ใชในกรณีถาไมมีบิดามารดา หรือ
ผูปกครอง ภาษากฎหมายเรียกวา
ผูปกครองดูแล ) 
การรับบริการจากสถานบริการดานสาธารณสขของเด ุ ็ก ( อายุไมเกิน 20 ปบริบูรณ ) 
ตองคํานึงถึงคําประกาศสิทธิผูปวยเปนสําคัญเพื่อไมใหเกิดการขัดสิทธิของผูปวยที่
เปนเด็ก
ตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม*
 - การทําผาตัด
 - การรักษากรณีที่วนิจฉิ ัยแลวพบวาเปนโรค - 
รายแรง
 - การรักษาที่เกดจากการบาดเจ ิ ็บอยาง - 
รุนแรง / สาหัส
 - การทําหัตถกรรมพิเศษอื่น ๆ
ไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม - การรักษาอาการเลก็ ๆ นอยๆ หรือ อาการไม
รุนแรง
*: การรักษาใดที่จะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมหรือไมนั้น ใหขึ้นอยูกับดุลยพินิจ
ของทางคณะแพทยที่ไดทําการตรวจวินิจฉัยวาเปนอาการที่ตองไดรับการรักษาเปนกรณีพิเศษ
ตองไดรับการรักษาที่คอนขางซับซอน หรือ ตองมีการผาตัดหรือไม25 
สวนหนึ่งของการดําเนินงานดานเวชระเบียน จําเปนตองใชขอมูลทาง
ทะเบียนราษฏรประกอบ เนื่องจากขอมูลดังกลาวนั้นเปนสิ่งหนึ่งที่ทําให
ทราบตัวบุคคล ภูมิลําเนา ถิ่นที่อยูของบุคคล ซึ่งทางงานเวชระเบียน
ถือวามีความสําคัญในระดับหนึ่ง โดยการดําเนินการที่เกี่ยวของกับขอมูล
ทางทะเบียนราษฏรที่สําคัญมีดังนี้
ตามพระราชบัญญัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ระบุไววา หญิงใดถาได
สมรสแลวใหเปลี่ยนจากคํานําหนาชื่อวา “ นางสาว “ เปน “ นาง “
หมายความวา ผูหญิงคนใด ( ตองเปนหญิงแท ) ไดทําการสมรสกับชาย
แลวใหใชคํานําหนาชื่อของหญิงวา “ นาง“ แทนการใช“ นางสาว“ซึ่ง
การสมรสนั้น ตองเปนการสมรสที่ถูก ตองตามกฎหมาย คือ
ตองจดทะเบียนสมรสกัน เนื่องจากตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยไดบัญญัติวา การสมรสตามกฎหมายใหมีไดแตเฉพาะ
การจดทะเบียนสมรสเทานั้น
แตในปจจุบันมีการเปลี่ยนทางสภาพสังคมอยางมาก สถานะภาพ
ของผูหญิงเริ่มมีบทบาทและเปนที่ยอมรับมากขึ้นในสังคม ทําใหมี
การเรียกรองถึงสิทธิบางประการที่ยังไมเทาเทียมกับฝายชาย หนึ่งในนั้น
คือ คํานําหนาชื่อ โดยองคกรที่เกี่ยวกับสตรีไดพยายามเรียกรองเพื่อ
ทวงสิทธิความเทาเทียมกันในสังคมที่หายไปของสตรีในเรื่องดังกลาว26 
คืนมา
จนกระทั่งในป 2551 ไดมีการตราพระราชบัญญัติฉบับหนึ่งขึ้นมา
เพื่อปลดล็อคความไมเทาเทียมกันของสถานะภาพในสังคม คือ
พระราชบัญญัติคํานําหนานามหญิง พ.ศ. 2551 โดยพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 ซึ่งเนื้อหาของ
พระราชบัญญัตินี้เปนในเรื่องของคํานําหนานามหญิงโดยเฉพาะ มีหลัก
ดังนี้*
 1. ผูหญิงซึ่งมีอายุครบ 15 ปบริบูรณขึ้นไปยังคงใหใชคํานําหนาชื่อ
เปน “ นางสาว“เหมือนเดิม
 2. ผูหญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสแลวจะใชคํานําหนาชื่อเปน “ นางสาว“
หรือ“ นาง“ก็ได
 3. ผูหญิงที่การสมรสสิ้นสุดลง จะใชคํานําหนาชื่อเปน “ นางสาว“
หรือ“ นาง“ก็ไดแลวแตจะเลือก
แตตองขอย้ําวา กฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใชเฉพาะผูหญิงที่ทํา
การสมรสกับชายโดยถูกตองตามกฎหมายคือ ตองจดทะเบียนสมรส
เทานั้น โดยถาอยูกินกันฉันทสามีภรรยาโดยไมมีการจดทะเบียนสมรสกัน
ยังคงใหใชคํานําหนาชื่อวา“ นางสาว“อยูเหมือนเดิม ไมมีสิทธิที่จะใช
คํานําหนาชื่อวา“ นาง“เหมือนกับผูหญิงที่ทําการสมรสโดยจดทะเบียน
สมรส
ทั้งนี้ถาจะมีการเปลี่ยนแปลงคํานําหนาชื่อ ตองแจงการเปลี่ยนแปลง
ใหนายทะเบียนทราบกอน จะทําการเปลี่ยนแปลงเองโดยพลการไมได
* : พระราชบัญญัติคํานําหนานามหญิง พ.ศ. 2551 มาตรา 4 , 5 , 627 
เพราะมีผลตอความสัมพันธในเรื่องของสิทธิในครอบครัวเชน อํานาจ
ปกครองบุตร มรดก หรือ สิทธิตาง ๆระหวางสามีภรรยา เปนตน
สวนชายจริง หญิงไมแทไมสามารถมาขอเปลี่ยนคํานําหนาชื่อจาก
“ นาย“เปน “ นางสาว“ หรือ“ นาง“ไดเพราะยังไมกฎหมายฉบับใดที่
เปดชองใหกระทําได
แตถาหลักฐานทางทะเบียนราษฎรกับขอมูลที่ผูมาขอ
รับบริการแจงไมตรงกันในเรื่องของคํานําหนานามหญิง
จะทํา อยางไร ??
หากเกิดกรณีของคํานําหนานามหญิงในหลักฐานทางทะเบียนราษฎร
ไมตรงกับที่ผูมาขอรับบริการแจงกับเจาหนาที่ ในการกรอกขอมูลใน
เวชระเบียนใหยึดตามที่ปรากฏอยูในหลักฐานทางทะเบียนราษฎร
เปนหลัก ( ใหยึดเปนหลักใชในเรื่องนามสกุลดวย )
จากที่กลาวมาทั้งหมดสามารถสรุปเปนแผนผังไดดังนี้
ชาย
หญิง
ยังไมสมรส และ
อายุ 15 ปขึ้นไป
นางสาว
สมรส
จดทะเบียนสมรส
จะใช “นางสาว” หรือ “นาง” ก็ได
การสมรสสิ้นสุดลง
ตาย
จดทะเบียนหยา
**( ตองแจงตอนายทะเบียน ) ** 
ไมจดทะเบียนสมรส28 
2.1 นามสกลของหญ ุ ิง
แตเดิมนั้น หญิงใดทําการสมรสถูกตองตามกฎหมาย คือ แตงงาน
โดยจดทะเบียนสมรส ใหหญิงนั้นใชนามสกุลของสามี ตอมาไดมี
การแกไขพระราชบัญญัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ใหผูหญิงคนใดก็ตามที่
จดทะเบียนสมรสกับชายอื่นมีสิทธิที่จะใชนามสกุลของตน หรือ นามสกุล
ของสามี หรือ นามสกุลทั้งของตนเองและของสามีไปพรอมกันได
( ขอยกตัวอยางเฉพาะนามสกุลเทานั้น อยาสับสนในเรื่องของคํานําหนา
ชื่อ ) เชน
น.ส.สมหญิง สวยหยด จดทะเบียนกับ นายสมชาย หลอหมดจด
ถาเปนกฎหมายเกา น.ส.สมหญิงตองใชนามสกุลดังนี้
“ นางสมหญิง หลอหมดจด “ 
แตถาเปนกฎหมายใหม น.ส.สมหญิง สามารถใชนามสกุลไดอยางใด
อยางหนึ่งดังนี้
“ นางสมหญิง หลอหมดจด “ 
“ นางสมหญิง สวยหยด “ ...หรือ...
“ นางสมหญิง สวยหยด หลอหมดจด “ 
แตถาแตงงานโดยไมจดทะเบียนสมรส ผูหญิงคนนั้นยังคงตองใช
นามสกุลเดิมของตนเอง เชนตัวอยางขางตน น.ส.สมหญิง
สวยหยด ก็ยังคงตองใชนามสกุล สวยหยด อยูเชนเดิม
2.2 นามสกลของเด ุ ็กแรกเกิด
เมื่อเด็กเกิดมาลืมตาดูโลกและมีชีวิต มีลมหายใจ ตามกฎหมายแลว29 
ถือวาเด็กนั้นเริ่มสภาพบุคคล * สามารถมีสิทธิหนาที่ตางๆไดเทาที่
กฎหมายกําหนด ซึ่งสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของสิทธิที่เด็กทุกคนจะไดรับคือ
นามสกุล
นามสกุล เปนตัวบอกสถานะของเด็กไดวาเปนบุตรของใคร ใครมี
อํานาจปกครอง และอาจมีผลถึงการรับมรดกของเด็กจากเจามรดกที่ถึง
แกความตาย ไมวาจะเปนการรับมรดกทางพินัยกรรม หรือการที่เปน
ทายาทโดยธรรมก็ตาม ซึ่งสามารถสรุปหลักในการใชนามสกุลของเด็กได
ดังนี้
กรณีที่ 1 บิดา - มารดาของเด็กไมจดทะเบียนสมรสกัน
เด็กที่เกิดจากบิดา - มารดากรณีนี้ตามกฎหมายเรียกวา
บุตรนอกสมรส หรือ บุตรนอกกฎหมาย ซึ่งถือวาบิดาของเด็กนั้นยังไมเปน
บิดาที่ชอบดวยกฎหมาย โดยบิดาสามารถมีสิทธิที่จะฟองไมรับหรือรับ
เด็กบุตรของตนไดหรือ เด็กสามารถฟองวาชายผูนั้นไมใชบิดาของตนได
ทําใหสถานะของเด็กกับบิดาเด็กยังไมแนนอนซึ่งสามารถเกิดเหตุการณ
ผันแปรไดตลอดเวลาจนกวาจะเลยระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไว ทําให
บิดาสามารถที่จะไมใหหรือใหเด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแลเลี้ยงดูจากตน
หรือในเรื่องที่เกี่ยวกับมรดกของตนได
ดังนั้นในการใชนามสกุลของเด็กนั้นใหใชนามสกุลของมารดา
เด็ก ถาจะใสชื่อนามสกุลของบิดาเด็กตองไดรับความยินยอมจากบิดาเด็ก
กอน ซึ่งอาจใหความยินยอมดวยวาจาโดยไมตองทําเปนหนังสือก็ไดและ
ถาบิดาเด็กเปนคนแจงเกิดเองก็ยิ่งทําใหการบันทึกนามสกุลของเด็กใน
หลักฐานทางเวชระเบียนนั้นงายขึ้น
* : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1530 
แตหากบิดาไมยินยอมใหใชนามสกุล หรือ ปฏิเสธการรับเลี้ยง
หรือไมรับวาเด็กเปนบุตรของตน ใหใชนามสกุลของมารดา หรือญาติ
ทางมารดาของเด็กไดโดยที่ญาติของมารดาเด็กไดใหความยินยอมเปน
หนังสือแลว
กรณีที่ 2 บดาิ - มารดาของเด็กจดทะเบียนสมรสกนั
เด็กสามารถใชนามสกุลของทั้งบิดา หรือมารดาไดโดยไม
ตองไดรับความยินยอมจากใคร สุดแตที่บิดา - มารดาเด็กจะเลือกวา
จะใหใชนามสกุลของใคร เนื่องจากเด็กที่เกิดจากบิดา - มารดา
จดทะเบียนสมรสกัน ถือวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ซึ่งเด็กจะมีสิทธิ
ที่ดีกวาในกรณีที่ 1 
ทั้ง 2 กรณีสามารถสรุปเปนแผนผังไดดังนี้
นามสกุลของเด็ก
บิดา - มารดา
ไมไดจดทะเบียนสมรสกัน
บิดา - มารดา
จดทะเบียนสมรสกัน
ใชนามสกุลของมารดา
ใชนามสกุลของบิดา
ตองไดรับความยินยอม
จากบิดาเปนหนังสือ
ใชนามสกุลของบิดาหรือ
มารดาก็ได31 
สัญชาติถือเปนสิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งของขอมูลทางทะเบียนราษฏร
โดยในปจจุบันมีคนงานตางดาวเขามาทํางานในประเทศไทยเปนจํานวน
มาก ซึ่งในบางครั้งไดมาสมรสสมรักกับคนไทย แลวมีลูกดวยกัน ทําใหมี
ปญหาวา เด็กที่เกิดมาจะมีสัญชาติอะไร??
ยิ่งซ้ําราย พบวา มีคนไทยบางคนถึงขั้นรับจางเปนพอของเด็ก หรือ
แมของเด็ก โดยเขาใจวา ถาพอ หรือ แมเปนคนไทย เด็กที่เกิดมาจาก
คนตางดาวจะไดรับสัญชาติไทย
เหตุที่ตองใหความสําคัญกับสัญชาติกับงานขอมูลเวชระเบียนนั้นก็คือ
เรื่องของสิทธิเบิกคารักษาพยาบาล รวมถึงสิทธิตางๆของเด็กจะไดรับ
หลักกฎหมายในเรื่องของสัญชาตินั้นกําหนดอยูในพระราชบัญญัติ
สัญชาติไทย พ.ศ. 2508 ซึ่งไดมีการปรับปรุงแกไขเมื่อปพ.ศ. 2535 โดยมี
หลักดังนี้
การไดมาซึ่งสัญชาติไทยของเด็ก มี 2 วิธีคือ
1.) หลักสืบสายโลหิต : มี 2 กรณี
กรณีที่ 1 บิดาเปนสัญชาติไทย แตมารดาเปนคนตางดาว
- เด็กที่เกิดมาจะไดสัญชาติไทยก็ตอเมื่อ บิดาและมารดา
จดทะเบียนสมรสกันถูกตองตามกฎหมาย หรือ บิดาจดทะเบียน
รับเด็กเปนบุตรตามกฎหมายเทานั้น
กรณีที่ 2 บิดาเปนคนตางดาว แตมารดาเปนสัญชาติไทย
- เด็กที่เกิดมาจะไดสัญชาติไทย เนื่องจากตามหลักกฎมาย
ถือวาเด็กที่เกิดมาเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของมารดาดวย32 
หลักสายโลหิต ทั้งนี้ไมวามารดาจะจดทะเบียนกับบิดาเด็กหรือไม
 2.) หลักดินแดน : ผูที่เกิดในประเทศไทยยอมไดรับสัญชาติไทย
เวนแตผูที่เกิดในประเทศไทยโดยบิดา หรือมารดาเปนคนตางดาวและใน
ขณะที่เกิด บิดา หรือ มารดาของผูนั้นเปน
2.1) ผูที่ไดรับการผอนผันใหพักอาศัยอยูในราชอาณาจักรไทยเปน
กรณีพิเศษเฉพาะราย
 2.2) ผูที่ไดรับอนุญาตใหเขาอยูในราชอาณาจักรไทยเพียงชั่วคราว
 2.3) ผูที่ไดเขามาอยูในราชอาณาจักรไทยโดยไมไดรับอนุญาตตาม
กฎหมายวาดวยคนเขาเมือง
 2.4) หัวหนาคณะผูแทนทางทูตหรือเจาหนาที่ในคณะผูแทนทางทูต
 2.5) หัวหนาคณะผูแทนทางกงสุลหรือเจาหนาที่ในคณะผูแทน
ทางกงสุล
 2.6) พนักงานหรือผูเชี่ยวชาญขององคการระหวางประเทศ
 2.7) คนในครอบครัวซึ่งเปนญาติอยูในความอุปการะ หรือ คนใชซึ่ง
เดินทางมาจากตางประเทศมาอยูกับบุคคลในขอ 2.4 – 2.6 
ดังนั้นหากเปนแรงงานตางดาว ก็จัดอยูในขอยกเวนของหลักดินแดน
ที่ไมสามารถเอาเรื่องดินแดนมากลาวอางไดวา ลูกของตนเกิดบนแผนดิน
ไทย ยอมไดสัญชาติไทย อีกทั้งยังเปนการขัดกับหลักสายโลหิตดวย
ขางตน33 
ในบางครั้งประชาชน หนวยงาน หรือองคกรตางๆจําเปนตองใช
ขอมูลหรือเอกสารทางดานเวชระเบียน เพื่อไปประกอบการดําเนินการ
หรือปฏิบัติตามหนาที่ใด ๆแตดวยติดที่วา ขอมูลทางดานเวชระเบียน
จัดเปนขอมูลเฉพาะบุคคลหรือขอมูลสวนตัว ดังนั้นในการที่จะทํา
การเปดเผย สงมอบขอมูล หรือเอกสารดังกลาวจะตองเปนไปดวย
ความรอบคอบระมัดระวัง อีกทั้งในปจจุบันไดมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับ
ทางขอมูลเวชระเบียนอยู คือ พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ พ.ศ. 2540 และ พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2550 เจาหนาที่ก็ยิ่งตองตระหนักในเรื่องดังกลาวใหมากขึ้นไป
กวาเดิม เพราะหากมีการเผยแพรออกไปใหกับผูที่ตองการแสวงหา
ผลประโยชนจากขอมูล ก็อาจจะเกิดเหตุการณที่ไมคาดคิดตอผูเปน
เจาของขอมูลไดโดยไมรูตัว อีกทั้งยังถือวาเจาหนาที่ไดกระทําผิดกฎหมาย
ดวย
ดังนั้นหลักเกณฑของการเปดเผยขอมูลดานเวชระเบียนแบงออกได
เปน 2 กรณีคือ
เนื่องจากในปจจ ุบันไดมีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 
ออกมาบังคับใชโดยมีขอบญญั ัติอยูตอนหนงวึ่ า
กรณีททางหน ี่ วยงานของรัฐเปนผูมาขอขอมูลหรือเอกสาร34 
“ ขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เปนความลับสวนบุคคล
ผูใดจะนําไปเปดเผยในประการที่นาจะทําใหบุคคลนั้นเกิดความเสียหาย
ไมได เวนแตการเปดเผยนั้นเปนไปตามความประสงคของบุคคลนั้น
โดยตรง หรือ มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติใหตองเปดเผย แตไมวากรณีใด ๆ
ผูใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของ
ราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับขอมูลดานสุขภาพของ
บุคคลที่ไมใชของตนไมได“* 
จากบทบัญญัติของกฎหมายขางตนทําใหเห็นขอมูลดานสุขภาพของ
บุคคลนั้นถือวาเปนความลับซึ่งไมสามารถเปดเผยได
แตในบางกรณีนั้นหนวยงานของรัฐก็มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง
ใชขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เพื่อใชประกอบการพิจารณาตางๆเชน
การพิจารณาเงินคาทดแทนตามกฎหมายเงินคาทดแทน การนั่งพิจารณา
คดีของศาล การสืบสวน สอบสวนพยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน
เปนตน จึงทําใหเกิดปญหาวา ขอมูลดานสุขภาพที่ถือวาเปนความลับ
อันตองหามตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 
จะสามารถเปดเผยใหกับทางหนวยงานของรัฐที่ประสงคจะขอขอมูล
ดังกลาวกับทางสถานบริการสาธารณสุขไดหรือไม
เมื่อพิจารณาดวยขอบัญญัติตามกฎหมายตางๆ บางฉบับพบวามี
การใหอํานาจของเจาพนักงานในการที่จะเรียกขอมูลตางๆจากหนวยงาน
ของรัฐอื่น ๆไดเชน อํานาจของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนตาม
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 บัญญัติใหคณะกรรมการ
กองทุนเงินทดแทนมีอํานาจสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของสงเอกสารหรือขอมูลที่
* : พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 มาตรา 735 
จําเปนมาพิจารณาได* และในการปฏิบัติตามหนาที่ตามพระราชบัญญัติ
เงินทดแทน พ.ศ. 2537 ดังกลาวใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจในการมี
หนังสือสอบถาม หรือ เรียกบุคคลที่เกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือ ใหสง
เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ หรือ สิ่งอื่นที่จําเปนมาเพื่อประกอบ
การพิจารณา
แตในระหวางโรงพยาบาล หรือ คณะแพทยที่ทําการรักษาจะขอ
ขอมูลดังกลาวไดจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน
เพราะวาไมมีกฎหมายใดใหอํานาจไวแมแตพระราชบัญญัติขอมูล
ขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ก็ตาม เนื่องจากวามีพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติพ.ศ. 2550 ไดกําหนดหามมิใหยกอํานาจ หรือสิทธิตาม
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ขึ้นมาอางสิทธิใน
การขอขอมูลสุขภาพดังกลาวไดเวนแตกรณีที่มีความจําเปนและฉุกเฉิน
อ ยางยิ่งในการที่ตองใชขอมูลเวชระเบียนเพื่อประโยชนใ น
การรักษาพยาบาล
ดังนั้นตามอํานาจทางกฎหมายนั้นถือไดวา เจาพนักงานมีอํานาจใน
การขอดูเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของเพื่อใชประกอบการพิจารณา แมจะ
เปนไปโดยขัดสิทธิสวนบุคคลก็ตาม โดยถือวาบทบัญญัติการใหอํานาจ
ดังกลาวเปนสิ่งที่ทําใหการบังคับใชกฎหมายนั้น ๆ ใหสมบูรณ
( คําวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 469/2545 สิงหาคม 2545 )
ดวยเหตุนี้ หนวยงานของรัฐสามารถขอดูขอมูลเวชระเบียนไดโดย
ไมตองขออนุญาตตอทางเจาของขอมูลกอน แตตองมีกฎหมายใหอํานาจ
เชนนั้นไวอยางชัดเจน และโดยเฉพาะตองเปนประการที่ไมทําใหเกิด
* : พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 57 (2)36 
ความเสียหายแกผูเปนเจาของขอมูล *
จากที่กลาวมาแลวขางตน การเปดเผยขอมูลดานสุขภาพที่บันทึกไว
ในเวชระเบียนจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน ดังนั้น
การที่ทางประชาชน หรือองคกรเอกชน จะทําการขอขอมูล หรือเอกสาร
ไดจะตองไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลเปนลายลักษณอักษร เชน
บริษัทประกันชีวิตจะมาขอขอมูลสุขภาพจากทางสถานพยาบาล
เนื่องจากเจาของขอมูลมาทําประกันชีวิตกับทางบริษัท ฯ และทาง
บริษัท ฯจําเปนที่จะตองทําการตรวจขอมูลกอนเพื่อปองกันการหลอกลวง
ในการทําสัญญาประกันชีวิตจากการที่ผูมาขอทําประกันจะจาย
เบี้ยประกันนอยลงกวาที่เปนอยูทั้งที่ตนจะตองจายเบี้ยประกันที่สูงกวานั้น
ถาไมมีหนังสือยินยอมมาจากเจาของขอมูล ทางสถานพยาบาลก็
ไมสามารถใหขอมูลกับทางบริษัท ฯไดเปนตน
สรุปแลวการใหความยินยอมที่จะเปดเผยขอมูลดานสุขภาพนั้นตอง
ไดรับความยินยอมจากผูที่เปนเจาของขอมูลโดยทําเปนลายลักษณอักษร
( ทําเปนหนังสือ ) ไวหรือ ถาเปนเจาของขอมูลมาขอเองก็ตองมีหลักฐาน
ที่สามารถยืนยันถึงสถานะ สภาพตัวบุคคล ความสัมพันธระหวางบุคคล
ไดอยางชัดเจน จึงจะเปนหลักฐานการยืนยันที่ดีที่สุด
* : ปจจุบันยังคงเปนขอเถียงกันอยูในประเด็นนี้แตอยางไรก็ตามใหยึดถือตามคําวินิจฉัยของ
คณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 469/2545 สิงหาคม 2545 ไปกอน จนกวาจะมีการวินิจฉัยเปลี่ยนแปลงใน
ประเด็นดังกลาวตอไป ยกตัวอยางเชน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ใหอํานาจแก
เจาพนักงานที่จะขอขอมูลตางๆ อยางชัดเจน
กรณีททางประชาชน ี่ , องคกรเอกชน ขอขอมูลหรอเอกสาร ื37 
ในบางกรณีที่ผูเปนเจาของขอมูลหรือผูมีอํานาจในการขอขอมูลหรือ
เอกสารเวชระเบียนนั้นไมมีหลักฐานที่สามารถระบุความถูกตองของ
ตัวบุคคลไดเนื่องจากสูญหาย หรือถูกทําลาย ยกตัวอยางเชน
1.) มาขอใบสูติบัตร เนื่องจากทําใบสูติบัตรหาย โดยปรากฏวา
ทางสถานพยาบาลไมมีหลักฐานหลงเหลือเพื่อมายืนยันวาผูที่มาขอขอมูล
เปนเจาของขอมูลจริง ซึ่งเปนเพราะวาระยะเวลานานมากแลวทําให
เอกสารนั้นสูญหาย
2.) มาแจงเกิดแลวแจงชื่อบิดาเปนชื่อเลน เวลามาขอใบสูติบัตร
กลับมาแจงชื่อบิดาเปนอีกชื่อหนึ่ง ซึ่งผูมาแจงอางวาเปนชื่อจริงของตน
ตามบัตรประจําตัวประชาชน แตที่ระบุไวในหลักฐานที่ทางสถานพยาบาล
เก็บไวเปนชื่อเลน โดยชื่อทั้งสองเปนของคน ๆเดียวกัน เปนตน
จากตัวอยางขางตนดังกลาว ทําใหการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เกิด
ปญหาขึ้นมาไดแมวาผูที่มาขอขอมูลจะยืนยันวาตนเปนเจาของขอมูลที่
แทจริงก็ตาม แตเจาหนาที่ก็ไมสามารถใหขอมูลหรือเอกสารไดเนื่องจาก
ไมมีเอกสารหลักฐานที่เจาหนาที่ไดเก็บไวมายืนยันกลับไป
และดวยเหตุที่วาหลักฐานทางเวชระเบียนเหลานี้มีความจําเปนตอ
การติดตอกับหนวยงานราชการ การสมัครงาน การเขาศึกษาตอใน
ทุกระดับชั้น การทําประกันชีวิต จนถึงการรักษาพยาบาล ซึ่งผูที่มาขอ
ขอมูล หรือเอกสารเวชระเบียนนั้นจําเปนตองใชและทางเจาหนาที่ก็ไม
สามารถใหไดดวยเหตุผลตามที่กลาวมาแลว แตปญหาทุกอยางมี
ทางออก จึงสามารถสรุปแนวทางการแกไขปญหาไดดังนี้
กรณีที่ผูมาติดตอ ฯ ทําหลักฐานบางอยางสูญหาย หรือ นํามาไมครบ38 
1. หลักฐานที่สามารถระบุตัวบุคคลไดชัดเจน คือ
 1.1 บัตรประจําตัวประชาชน
 1.2 บัตรประจําตัวขาราชการ
 1.3 บัตรประจําตัวพนักงานรัฐวิสาหกิจ
 1.4 บัตรประจําตัวผูขับขี่รถ หรือ บัตรใบอนุญาตขับขี่
 1.5 หรือบัตรประจําตัวอื่น ๆ ที่มีเลขประจําตัวประชาชน
 13 หลัก ( แตตองมีการตรวจสอบใหแนชัดเสียกอน
วาขอมูลมีความถูกตอง เพราะสวนใหญเวลาติดตอ
ราชการมักจะไมนิยมใชเปนเอกสารหลักฐาน - 
อางอิง )
2. หลักฐานที่สามารถระบุความสัมพันธระหวางบุคคล
ไดชัดเจน คือ
2.1 กรณีที่มีการสมรสกันถูกตองตามกฎหมาย คือ
มีใบสําคัญแสดงการสมรสหรือ ทะเบียนสมรส
2.2 กรณีที่ไมมีการจดทะเบียนสมรสกันถูกตองตาม
กฎหมาย หรือเอกสารดังกลาวเกิดการสูญหายไป : ใหใชเอกสาร
อยางหนึ่งอยางใด หรือ หลายอยางแลวแตกรณีดังนี้
 2.2.1 กรณีที่เกิดการสูญหายตองมีใบสําเนาการแจง - 
ความจากสถานีตํารวจมาแนบประกอบดวย เพราะ
เปนการยืนยันวาเอกสารไดสูญหายจริง เพราะวาถา
ไมจริงผูที่อางก็จะมีความผิดฐานแจงความเท็จ โดย
ถือวาทางเจาหนาที่ผูใหขอมูลไปไดกระทําโดยใช
ความระมัดระวังอยางดีที่สุดแลว หากเกิด39 
ขอผิดพลาดเปนประการใด ก็ไมมีผลตอ
เจาหนาที่
 2.2.2 หนงสั ือรับรองวาเปนสาม - ี ภรรยากันจริง โดย
ใหเจาพนักงานฝายปกครองเปนผูออกหนังสือ
รับรองใหคือ ผูใหญบาน หรือ กํานันที่อยูใน
พื้นที่เดียวกันกับผูที่อาง
 2.2.3 หนงสั ือรับรองการศึกษาจากสถานศึกษาของ
ผูที่อางระบุวาไดศึกษาอยูที่สถานศึกษานี้จริง
 2.2.4 ใบจดทะเบียนรับเด็กเปนบุตร ทงเปั้ นบ ุตรที่
นอกสมรส หรือ บุตรบุญธรรม
 2.2.5 หนงสั ือรับรองวาเด็กเปนบ ุตร โดยให
เจาพนักงานฝายปกครองเป  นผ ูออกหนังสอื
รับรองให คือ ผูใหญบาน หรือ กานํ นั ที่อยู
ในพื้นที่เดียวกับผูที่อาง ยกตัวอยางเชน
นายซอนกลิ่น อยูที่หมูบานกระโดง จ.ราชบุรีมาขอรับใบสูติบัตรกับ
ทางโรงพยาบาล แตอางวาไดทําเอกสารดังกลาวสูญหายไป โดยมี
ความประสงคที่จะนําใบสูติบัตรดังกลาวไปดําเนินการเอาชื่อบุตรของตนที่
มีอายุ 18 ปเขาทะเบียนบาน รวมทั้งทําบัตรประจําตัวประชาชนของ
บุตรดวย แตปรากฎวา ทางโรงพยาบาลไมมีหลักฐานดังกลาวอยูเลย
เพราะไดสูญหายไป จะทําประการใด
คําตอบคือ 1. ตองใหนายซอนกลิ่นไปแจงความเพื่อลงบันทึก
ประจําวันวาเอกสารดังกลาวไดสูญหายไป40 
 2. ใหนายซอนกลิ่นไปขอหนังสือรับรองวาตนเปนบิดา
ของเด็กจริง จากผูใหญบาน หรือกํานันของหมูบานกระโดง
 3. ใหนายซอนกลิ่นไปขอหนังสือรับรองการศึกษาจาก
สถานศึกษาที่บุตรของตนไดเขารับการศึกษาครั้งลาสุด
3. การลงลายมือชื่อ
 3.1 ถาใชการพิมพลายนิ้วมือ ตราประทับ เครื่องหมาย
อยางใดอยางหนึ่ง หรือ แกงได * แทนการลงลายมือชื่อจะตองมีพยาน
ลงลายมือชื่อรับรองลายพิมพนิ้วมือ หรือเครื่องหมายนั้น อยางนอย 2 คน
และสามารถถือวาพยานที่รับรองลายพิมพนิ้วมือหรือเครื่องหมายนั้นเปน
พยานรับรองเอกสารไปไดทีเดียว
 3.2 ถาใชลายมือชื่อ ไมจําเปนตองมีพยานรับรอง
ลายมือชื่อคงจะมีแตเฉพาะพยานรับรองเอกสารเทานั้น
ดังนั้น ผูที่จะมาขอขอมูลทางเวชระเบียนจะตองมีหลักฐานที่
ใชยืนยันสถานภาพของตนเองใหชัดเจน หรือถาเปนผูอื่นมาขอขอมูลก็
ตองมีหนังสือยินยอมโดยตองทําเปนลายลักษณอักษร ( ทําเปนหนังสือ )
ซึ่งตรงจุดนี้ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองใชความรอบคอบ และ
ระมัดระวังเปนอยางมาก เพื่อปองกันปญหาที่จะตามมาใน
ภายหลัง
* : แกงได คือ รอยกากบาท รอยขีดเขียน ซึ่งคนไมรูหนังสือขีดลงไวเปนสําคัญใน
เอกสารหรือสัญญาตางๆ ( แตไมใชลายเซ็น)41 
1. อนุสัญญาวาด วยสิทธิเด็ก ขอมูลจาก www.rakdek.or.th เมื่อวันที่
 24 ตุลาคม 2552 
2. แนวทางการสรุปเวชระเบียน โดย นายแพทยไชยยศ ประสานวงศ
ขอม ูลจาก www.med.cmu.ac.th เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2550 
3. อนุสัญญาวาด วยสิทธิเด็ก ขอมูลจาก www.unicef.org เมื่อวันที่
 24 ธันวาคม 2550 
4. คําประกาศสิทธิผูปวย ขอมูลจาก www.elib-online.com เมื่อวันที่
 25 ธันวาคม 2551 
5. พระราชบญญั ัติชื่อสกุล พ.ศ. 2505 ขอมูลจาก www.thaibar.thaigov.net 
เมอวื่ ันที่ 26 ธันวาคม 2551 
6. บทความพิเศษ เรื่องเวชระเบียน โดย ณฐั ตันศรีสวัสดิ์ภาควิชานิติเวช - 
ศาสตรคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณหมาวิทยาลัย ขอมูลจาก
 www.md.chula.ac.th เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2551 
7. กฎหมายสัญชาติขอมูลจาก www.lawanwadee.com เมื่อวันที่
 19 ตุลาคม 2551 
8. ธีระพล อรณะกส ุ ิกรและคณะ.พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทาง  - 
ราชการ พ.ศ. 2540.กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,พ.ศ. 2549. 
9. ธีระพล อรณะกส ุ ิกรและคณะ.พระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาที่ไมเปน- 
ธรรม พ.ศ. 2540.กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,2549. 
10. ธีระพล อรุณะกสิกรและคณะ.พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ
พ.ศ. 2550.กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด,2549. 
11. คณะวชาการ ิ Justice Group.ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

 (ฉบับปจจบุ ัน).กรุงเทพ ฯ : บริษัท พีรภาส จํากัด,2549

http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/data/env/law/knowledge/opd_handbook.pdf


อ่านเพิ่มเติม>>>