"วิสัยทัศน์" เป็นหน่วยงานเวชระเบียนที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยองค์ความรู้ด้านบริการและวิชาการที่ได้มาตรฐาน

จรรยาบรรณวิชาชีพเวชระเบียน

งานเวชระเบียนนั้นเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการใช้และการเก็บรักษาข้อมูลทางการแพทย์อันได้แก่ข้อมูลทางด้านการรักษาและข้อมูลสถานะสุขภาพต่าง ๆเพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยการบริหารจัดการและเพื่ออ้างอิงในการศึกษาวิจัยของนักวิชาการเวชระเบียนที่ดีแสดงถึงคุณภาพการรักษาและบริการที่ดีด้วยและเพื่อการรับรองคุณภาพดังกล่าวนักเวชระเบียนควรมีบัญญัติพื้นฐานเพื่อการปฏิบัติสำหรับสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพเวชระเบียนดังนั้นสมาคมเวชระเบียนแห่งสหรัฐอเมริกาจึงได้กำหนดจรรยาบรรณสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพเวชระเบียนขึ้นมา
ประมวลจรรยาบรรณดังกล่าวข้างต้นเป็นหลักปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายในวิชาชีพเวชระเบียนซึ่งจะมีผลผูกพันต่อผู้ที่เป็นสมาชิกของสมาคมเวชระเบียนแห่งสหรัฐอเมริกาและบุคคลอื่นๆซึ่งได้รับการรับรองจากสมาคมนี้หลักจรรยาบรรณดังกล่าวประกอบด้วย
  1. บริการย่อมมาก่อนผลประโยชน์อื่นใดมีความซื่อสัตย์สุจริตในวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนตัวให้ความสนใจต่อผู้ป่วย (ลูกค้า)โดยเท่าเทียมกันโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติเพื่อนำชื่อเสียงเกียรติคุณมาสู่ตนเองสู่สมาคมและสู่วิชาชีพเวชระเบียน
  2. เก็บรักษาเวชระเบียนที่อยู่ในความดูแลของตนโดยถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล(ความลับ)โดยไม่มีการเปิดเผยหรือทำลายนอกจากจะเป็นไปตาม กฎระเบียบอายุความหรือนโยบายของผู้บริหาร
  3. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้บังคับบัญชา(นายจ้าง) มอบหมายด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
  4. หลีกเลี่ยงการกระทำหรือการปกปิดการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อจริยธรรมอันดี
  5. เปิดเผยข้อมูลในเวชระเบียนต่อผู้เป็นเจ้าของเวชระเบียนโดยตรง(ตัวผู้ป่วย)ไม่เปิดเผยข้อมูลในเวชระเบียนโดยไม่จำเป็นยกเว้นจะเป็นการใช้เพื่อเป็นหลักฐานตามกฎหมายหรือเป็นไปตามกฎระเบียบอื่น ๆ
  6. รักษากฎระเบียบต่าง ๆที่กำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการเวชระเบียนอย่างเคร่งครัด
  7. ยอมรับเงินค่าบริการต่างๆ เฉพาะที่กำหนดไว้ในกฎหมายหรือตามธรรมเนียมปฏิบัติซึ่งตนควรจะได้ตามหน้าที่
  8. หลีกเลี่ยงการก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคลอื่นและไม่แสดงอำนาจการตัดสินใจที่นอกเหนือขอบเขตที่ตนเองรับผิดชอบอยู่
  9. พยายามแสวงหาความรู้เพิ่มเติมหมั่นฝึกฝนและพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาเพื่อการบริการทางสาธารณสุขที่ดีมีสุขภาพ
  10. มีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากรและเสริมสร้างความเข้มแข็งในวิชาชีพตลอดจนการเผยแพร่สาขาวิชาชีพเวชระเบียนให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณะ
  11. ในฐานะเจ้าหน้าที่เวชระเบียนจะต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล(ความลับ) ของผู้ป่วยและเผยแพร่ข้อมูลขององค์กรในลักษณะภาพรวมทั้งหมด
  12. บอกกล่าวความจริงอย่างละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาประสบการณ์ต่าง ๆของตนต่อผู้บังคับบัญชา (นายจ้าง)หรือว่าที่นายจ้างในอนาคต
ที่มา :ชมรมเวชระเบียนและสถิติแห่งประเทศไทย
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2554 พล.ต.ธนดล สุรารักษ์ เเละคณะ เดินทางไปเยี่ยม นายชนม์ชื่น บุญญานุสาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี ซึ่งป่วยเเละพักรักษาตัว ณ โรงพยาบาลราชบุรี โดยมี คุณสายฝน บุญญานุสาสน์ ภริยา เเละนายเเพทย์ สมชาย เทพเจริญนิรันดร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชบุรี ให้การต้อนรับ
http://www.armyengineer.go.th/my_site/act/act_120.html

ปํญหาใหญ่ของงานเวชระเบียน :ค้นประวัติไม่พบ

ค้นประวัติไม่พบ เกิดจากอะไร? อาจจะเกิดจากหลาย ๆ กรณี เช่น
1. เพิ่งกลับจากโรงพยาบาล แฟ้มประวัติของท่าน อาจจะยังไม่ส่งคืนจากหอผู้ปวย
2. เพิ่งมาตรวจ ภายใน 1-2 วันนี้ แฟ้มประวัติของท่าน อาจจะยังไม่ส่งคืนจากห้องตรวจ
3. มีนัดตรวจหลายห้องตรวจในวันเดียวกัน แฟ้มประวัติของท่าน อาจจะอยู่ที่ห้องตรวจอื่น
4. มีนัดตรวจล่วงหน้าก่อน 1-2 วัน แฟ้มประวัติของท่าน อาจจะจัดเตรียมไว้ล่วงหน้าแล้ว
5. อาจจะมีการยืมแฟ้มประวัติของท่าน โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการศึกษา เพื่อการบันทึกข้อมูล เพื่อการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ
6 ด้วยจำนวนแฟ้มเวชระเบียนที่มากกว่า 2500 แฟ้มต่อวัน จนท.เวชระเบียน อาจจะยังจัดเก็บไม่ทัน อาจจะเก็บผิด ฯลฯ
7.เราพยายามที่จะนำระบบเวชระเบียนอิเลคทรอนิกส์ มาใช้หลายครั้งหากแต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จ ..ต้องรอให้ทุกหน่วยงาน พร้อมใช้งาน
งานเวชระเบียน ต้องขออภัยในความผิดพลาดบกพร่องที่เกิดขึ้น
             

คณะศึกษาดูงานจาก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี

งานเวชระเบียน รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่
คณะศึกษาดูงานจาก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
กรุณาให้เกียรติ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระบบงานเวชระเบียน
19 ธันวาคม 2554


....ความรู้ที่เราได้รับ เราจะนำมาพัฒนาต่อไป

ทำลายแฟ้มเวชระเบียน

งานเวชระเบียนได้รับการอนุมัติให้ทำลายแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่ขาดการรักษาเกิน 5 ปี และแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยใน ปี 2549 ผู้ที่ประสงค์จะใช้ประโยชน์จากข้อมูลในเวชระเบียน กรุณาติดต่องานเวชระเบียน โทร. 032- 719600 ต่อ 1172 ในวัน/เวลาราชการ ตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2554

เวชสถิติ Medical Record Librarian

เวชสถิติ (อังกฤษMedical Record Librarian, อ่านว่า เวด-สะ-ถิ-ติ) หมายถึง ตำแหน่งพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในงานเวชระเบียน ซึ่งมีหน้าที่ในการจัดการงานทางด้านเวชระเบียนตามที่ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบสูงสุดทางด้านเวชระเบียนในสถานบริการสาธารณสุขมอบหมาย โดยงานต่าง ๆ เหล่านั้นอาจเป็นงานห้องบัตร งานสถิติทางการแพทย์ งานให้รหัสโรค งานบันทึกข้อมูลผู้ป่วย งานคัดกรองผู้ป่วย งานด้านคอมพิวเตอร์ หรืองานอื่น ๆ ทางด้านเวชระเบียนที่ได้รับมอบหมาย นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงชื่อโรงเรียนที่ทำการเรียนการสอนทางด้านพื้นฐานเวชระเบียน ซึ่งมีชื่อว่า โรงเรียนเวชสถิติ (อังกฤษMedical Record Librarian School) ซึ่งจะมีการเรียนทางด้านเวชระเบียน รหัสโรค สรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร์ พื้นฐานทางคลินิก วิธีดำเนินการทางการแพทย์ ศัพท์แพทย์ และสถิติ เป็นวิชาหลัก ต่อมาได้มีการพัฒนาการศึกษาทางด้านเวชสถิติซึ่งจะมีการเรียนที่เปลี่ยนชื่อไปเป็น เวชระเบียน โดยมีการเปลี่ยนจากโรงเรียนเวชสถิติเดิมไปเป็นสาขาวิชาเวชระเบียน วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขกาญจนาภิเษก สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ปัจจุบันได้มีการพัฒนาหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรในระดับปริญญาตรีด้านเวชระเบียนด้วย และมีการศึกษาต่อเนื่องในหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเวชระเบียน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งปัจจุบันก็ได้มีการศึกษาจากการปรับปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตร 4 ปี


แนวทางพัฒนางานเวชระเบียน

เวชระเบียน หมายถึง ข้อมูลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในที่มารับบริการทางการแพทย์หรือระบบบริการสุขภาพเพื่อเป็นแนวทางในการดูแลรักษาผู้ป่วย สำหรับแพทย์ พยาบาล หรือบุคคลอื่นๆ ที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าว เช่นในการศึกษา วิจัยการพัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาล การบริหารจัดการ และใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมาย

แนวทาง
ทุติยภูมิ
ตติยภูมิ
หมายเหตุ
2.1
2.2
2.3
3.1
3.2
1. เจตจำนงและจุดมุ่งหมาย
การจัดทำเจตจำนงและจุดมุ่งหมายที่สอดคล้องกับ
1.1   วิสัยทัศน์ พันธกิจ ขององค์กรและเอื้อต่อการมุ่งสู้จุดหมาย ของหน่วยงานโดยที่บุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่วม ในการจัดทำและมีความชัดเจน กระชับ ครอบคลุมง่ายต่อการจดจำ และนำไปปฏิบัติจัดทำไว้เป็นเอกสาร
1.2   มีระบบการให้บริการเวชระเบียนด้วยความถูกต้อง ครบถ้วนทันเวลา
1.3   มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นเอกสารและฐานข้อมูลในระบบอิเลคทรอนิกส์ที่สมบูรณ์ ถูกต้อง
1.4   มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทั้งในส่วนของ เอกสารและข้อมูลในระบบอิเลคทรอนิกส์
1.5   มีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้ให้และ ผู้รับบริการของระบบงานเวชระเบียน
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
2. การบริหารจัดการองค์กร
2.1    มีแผนภูมิสายการบังคับบัญชาและสายการประสานงานอย่างชัดเจน
2.2    กำหนดทิศทางการบริหารคลอบคลุมและชัดเจน โดยสอดคล้องกับวิสัยทัศ พันธกิจ ดูจากเจตจำนง และจุดมุ่งหมาย
2.3    มีการจัดทำแผนงบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปี
2.4    มีคณะกรรมการพัฒนางานเวชระเบียน
2.5    มีการกำหนดความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ของบุคลากรเป็นลายลักษณ์อักษรและมีการปรับปรุงให้เหมาะสม
2.6    มีการประชุมหน้าที่ในหน่วยงานร่วมกันเพื่อพัฒนางาน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งจัดการบันทึกการประชุมเป็น ลายลักษณ์อักษรและ ถ่ายทอดผลการประชุม ไปให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
2.7    มีระบบการรายงาน เมื่อพบปัญหาจากการปฏิบัติงาน
2.8    มีระบบการรับทราบความต้องการของผู้รับบริการ
2.9    มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ ของหน่วยงาน ให้ประทับใจผู้ทำงานและ ผู้มารับบริการ
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
แนวทาง
ทุติยภูมิ
ตติยภูมิ
หมายเหตุ
2.1
2.2
2.3
3.1
3.2
3.การบริหารและพัฒนาบุคลากร
3.1   หัวหน้าหน่วยงาน มีการกำหนดคุณสมบัติทั่วไป และสมรรถนะให้เหมาะสมกับแต่ละระดับของโรงพยาบาล                                  
3.1.1          คุณสมบัติทั่วไป ต้องมีวุฒิการศึกษา
1)      ปริญญาตรีหรือปริญญาโท
2)      อนุปริญญาด้านเวชสถิติหรือมีประสบการในการทำงานด้านเวชสถิติอย่างน้อย 3 ปี
3.1.2      สมรรถนะ (Competency)
        1) มีสมรรถนะหลักตามที่ กพ. กำหนด
                     - การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motion - ACM)
                     - บริการที่ดี (Service Mind - SERV)
                     - การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertse - EXP)
                     - จริยธรรม (Integrity - ING)
                     - ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork - TW)
           2) สมรรถนะหลักประจำหน่วยงาน (ฝ่ายสนับสนุนทั่วไป)
                     - การพัฒนาศักยภาพคน
                     - มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์
                     - มีความรู้ภาษาอังกฤษสามารถสื่อสารได้
                     - การดำเนินงานเชิงรุก (Proactiveness - PROAC)
                     - การคิดวิเคราะห์ (Analytic thinking - AT)
                     - ความยืดหยุ่นผ่อนปรน
                     - การสืบเสาะข้อมูล
                     - ความถูกต้องของงาน
3.1.3      สมรรถนะ (Competency) หัวหน้างาน
                    - ร่วมกำหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนา และวิเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจเป้าหมาย
                   - วางแผน และกำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเพื่อกระตุ้นผลักดันให้มีการติดตามประเมินผล และตรวจสอบงานเวชระเบียนและสถิติได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ
                   - ตรวจสอบ ติดตาม การปฏิบัติงานด้านเวชระเบียน และสถิติและงานที่มอบหมายให้บรรลุตรามนโยบาย
                   - วิเคราะห์ข้อมูลสถิติที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้
                   - ให้คำปรึกษาและแนะนำด้านการวิจัยแก่บุคลากรในหน่วยงาน
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
แนวทาง
ทุติยภูมิ
ตติยภูมิ
หมายเหตุ
2.1
2.2
2.3
3.1
3.2
                    - กระตุ้น ส่งเสริมสร้างแรงจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา เอาใจใส่ในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อหน่วยงาน
                   - ตรวจสอบ และให้คำแนะนำการให้รหัสโรค
3.2 มีการจัดทำแผนอัตรากำลังและแผนพัฒนาบุคลากร ทั้งแผนปฏิบัติการประจำปีและแผนระยะยาว (3-5 ปี) ที่สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาลและมีกรบวนการติดตาม กำกับและประเมินผล การดำเนินงานตามแผน
3.3 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ / คำบรรยาย ลักษณะงาน และคุณสมบัติที่ต้องการของเจ้าหน้าที่ตำแหน่งต่างๆ เช่น เจ้าหน้าที่ให้รหัสโรคและหัตถการต้องผ่านหลักสูตรการศึกษาหรือการอบรมการให้รหัสโรคและหัตถการ
3.4 มีระบบการคัดเลือกบุคลากรเข้าสู่ตำแหน่ง ตามมาตรฐานที่กำหนด
3.5 มีการปฐมนิเทศ การแนะนำการทำงานก่อนเข้าทำงาน
3.6 มีการควบคุมกำกับการปฏิบัติงานและการประเมินผลงานของบุคลากร
3.7 บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี และเฝ้าระวังการเจ็บป่วย และอุบัติเหตุจากการทำงาน
3.8 มีการประเมินความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร
3.9 มีฐานข้อมูลบุคลากรในหน่วยงาน เกี่ยวกับการทำงาน การได้รับการอบรม
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
4. โครงสร้าง อาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
4.1   ที่ตั้งของหน่วยงานหน่วยเวชระเบียน ต้องมี ลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปที่ตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสมมองเห็น ได้อย่างชัดเจน สามารถเข้าถึงได้สะดวก ใกล้กับบริเวณหน่วยตรวจโรคผู้ป่วยนอก
4.2   มีพื้นที่สำหรับปฏิบัติงานเป็นสัดส่วน กว้างขวาง เพียงพอ เหมาะสมกับปริมาณผู้มารับบริการ และมีความปลอดภัย ต่อการปฏิบัติงานในทุกขั้นตอน
-          ห้อง / บริเวณเคาน์เตอร์สำหรับผู้มารับบริการ
-          ห้อง / บริเวณสำหรับการเก็บประวัติผู้ป่วยใน / นอก
-          ห้อง / บริเวณการพักคอยสำหรับผู้มาใช้บริการ
-          ห้อง / บริเวณสำหรับระบบคอมพิวเตอร์
-          ห้อง / บริเวณสำหรับการทำงานของเจ้าหน้าที่
-          ห้อง / บริเวณสำหรับการประชุมเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
-          ห้องพักเจ้าหน้าที่ ที่เป็นสัดส่วน
-          มีห้องน้ำ / ห้องสุขา ที่ได้สัดส่วนกับจำนวนเจ้าหน้าที่
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
แนวทาง
ทุติยภูมิ
ตติยภูมิ
หมายเหตุ
2.1
2.2
2.3
3.1
3.2
4.3   มีระบบสำรองไฟฉุกเฉิน
4.4   มีระบบโทรศัพท์ที่เพียงพอ
4.5   มีระบบเสียงตามสาย
4.6   มีระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้
4.7   มีแสงสว่างเพียงพอ
4.8   มีระบบป้องกันอัคคีภัย อัตโนมัติในการตรวจจับควัน และความร้อน และ / หรือ มีถังดับเพลิงชนิด CO2
4.9   มีระบบการจัดเก็บขยะ แยกขยะเปียก กับขยะแห้ง เพื่อการนำมาใช้ใหม่
4.10 มีระบบระบายอากาศ ถ่ายเทอากาศที่ดี
4.11 มีระบบการป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน
4.12 มีระบบกรองอากาศในห้องเก็บเอกสารเวชระเบียน
4.13  มีแผนฉุกเฉิน เมื่อเกิดอัคคีภัยในหน่วยงาน
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
5.การควบคุม กำกับและประเมินผล
5.1    มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน
5.2    มีสายการบังคับบัญชาและการประสานงานอย่างชัดเจน
5.3    มีการประเมินการปฏิบัติงาน โดยผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา 
5.4    มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน และมีการดำเนินการอย่างเหมาะสม เมื่อพบความไม่รับผิดชอบหรือมีความสามารถไม่เพียงพอ
5.5    มีการติดตามงาน และประเมินผลงาน โดยใช้ตัวชี้วัด
5.6    มีระบบควบคุมภายใน และการติดตามผลการควบคุม
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
6. วัสดุ ครุภัณฑ์ที่มีสภาพพร้อมใช้งาน ทันสมัยและเพียงพอ มีระบบการดูแลบำรุงรักษา ที่ถูกต้อง
6.1   ตู้หรือชั้นเก็บประวัติผู้ป่วยนอก / ใน
6.2   เครื่องคอมพิวเตอร์
6.3   เครื่องพิมพ์
6.4   เครื่องสแกนเนอร์ (เวชระเบียน)
6.5   เครื่องถ่ายเอกสาร
6.6   เครื่องเคลือบบัตร
6.7   มีระบบบริหารครุภัณฑ์ และเครื่องใช้สำนักงาน
6.8   มีระบบการซ่อม บำรุงรักษา โดยมีผู้รับผิดชอบที่มีความรู้
6.9   มีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
แนวทาง
ทุติยภูมิ
ตติยภูมิ
หมายเหตุ
2.1
2.2
2.3
3.1
3.2
7. แนวทาง หรือ คู่มือการปฏิบัติงาน
7.1 มีการจัดทำเอกสารแนวทางการปฏิบัติงาน
7.2 มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดว่าเรื่องใดมีความจำเป็นต้องทำเอกสาร แนวทางการปฏิบัติงาน
7.3 ผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วมกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานและมีการรับรองโดยผู้บริหารของโรงพยาบาล
7.4 มีการทบทวนแนวทางการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอทุก 1 – 3 ปี
7.5 มีการใช้แหล่งข้อมูลหรือเอกสารอ้างอิงในการจัดทำเอกสารแนวทางการปฏิบัติงาน
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
8. กิจกรรมหลัก
8.1 จัดทำประวัติผู้ป่วยใหม่ ข้อมูลมีความสมบูรณ์ตามแนวทางพัฒนา งานเวชระเบียน ผู้ป่วยนอกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
8.2 มีระบบการ เก็บ – ค้นหา เวชระเบียนที่ได้มาตรฐาน
      - ระบบการเก็บที่ได้มาตรฐาน เช่น เรียงแบบTerminal digit
      - ระบบการเตือนการเก็บผิดที่ เช่น การติดสี สติกเกอร์เพื่อการาสังเกตได้ง่ายในกรณีเก็บผิดและทำให้ค้นหาได้ง่าย
      - ระบบการติดตามเวชระเบียนผู้ป่วยนอก(OPD card) คืน ภายใน 24 ชั่วโมง และเวชระเบียนผู้ป่วยใน (Chart) จำหน่ายคืนภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 7 วัน)ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
      - มีระบบ Check in / Check out หรือ Control Card ควบคุม
      - การค้นพบเวชระเบียนในดีเก็บได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
      - มีการประกันระยะเวลาที่ให้บริการเวชระเบียน (ไม่เกิน 20 นาที) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
     - มีระบบการยืม / คืนเวชระเบียนที่ได้มาตรฐาน
     - มีการทำระบบดัชนีเพื่อค้นหาเวชระเบียนที่ต้องการโดยใช้ Soundex code หรือใช้แฟ้มฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
     - สามารถเก็บเวชระเบียนผู้ป่วยนอก (OPD Card) และเวชระเบียนผู้ป่วยใน (Chart) ไว้ได้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ในสภาพเรียบร้อย หรือมีการสำรองข้อมูลในรูป Electronic File ที่ปลอดภัย
    - มีตัวบ่งชี้ให้ทราบสถานะของเวชระเบียนที่ถูกนำไปใช้
8.3 มีระบบการให้รหัสโรคและรหัสหัตถการที่ได้มาตรฐาน มีความถูกต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
8.4 มีระบบการบันทึกข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ มีความถูกต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
แนวทาง
ทุติยภูมิ
ตติยภูมิ
หมายเหตุ
2.1
2.2
2.3
3.1
3.2
8.5 งานข้อมูลสถิติ สารสนเทศ
     - จัดทำรายงานประจำเดือน
     - จัดทำรายงานกิจกรรมประจำปี
     - จัดทำดัชนีชี้วัดทางคลินิกของโรงพยาบาล
     - จัดทำสถิติทางการแพทย์
     - วิเคราะห์ข้อมูล ดัชนีชี้วัดของหน่วยงาน
     - ให้บริการข้อมูลสถิติ และสารสนเทศ ทางการแพทย์
8.6 มีระบบการดูแลความปลอดภัยและระบบการป้องกัน การสูญหายของข้อมูลในฐานข้อมูลอิเลคทรอนิคส์ และในรูปแบบเอกสาร
8.7 ระบบตรวจสอบเวชระเบียน
    - จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเวชระเบียน
    - ตรวจสอบเวชระเบียนผู้ป่วยใน
    - ตรวจสอบเวชระเบียนผู้ป่วยนอก
   - มีระบบพัฒนาการการบันทึกเวชระเบียนให้สมบูรณ์
   - มีระบบการควบคุม ช่วยเหลือการบันทึกข้อมูล เช่น ออกแบบฟอร์มให้สะดวกในการบันทึก
   - มีระบบควบคุมมาตรฐานเอกสาร
8.8 วิเคราะห์ระบบเวชระเบียนและประสานกำหนด แนวทางปรับปรุง
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
9. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
9.1    มีการประเมินความต้องการของผู้รับบริการ
9.2    มีการจัดทำตัวชี้วัดของหน่วยงาน
9.3    มีการค้นปัญหาและโอกาสพัฒนาอย่างเป็นระบบ
9.4    มีการประชุมแก้ปัญหาพัฒนาระบบการบริการ โดยการทำงานเป็นทีม
9.5    มีการประเมินผล และการควบคุมภายใน เป็นรายงาน
9.6    มีระบบพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/

นิยามความหมาย
ตัวเลขและเครื่องหมายแสดงในตารางต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
                ตัวเลข 2.1 คือ หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับต้น หมายถึง โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์หรือหน่วยงานบริการอื่นๆ ทั้งหน่วยบริการอื่นๆ ทั้งหน่วยบริการภาครัฐและเอกชน ที่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้นอนรักษาพยาบาล มีภารกิจในด้านการรักษาพยาบาลสิ้นสุดที่การรักษาผู้ป่วยใน (IPD) รักษาโรคพื้นฐานทั่วไป(Common problem) ไม่ซับซ้อนมากนัก โดยอาจยึดเกณฑ์ระยะทางเฉลี่ยจาก ศูนย์กลางตำบลถึงหน่วยบริการดังกล่าว ไม่ควรเกิน 45 กม. หรือระยะเวลาเดินทางไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง หรือเกณฑ์อื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยมีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป เวชปฏิบัติครอบครัว เวชศาสตร์ป้องกัน อาชีวเวชศาสตร์ หรือระบาดวิทยา ทำหน้าที่ดูแล
                ตัวเลข 2.2 คือ หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับกลาง หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ หรือหน่วยบริการอื่นๆ ทั้งหน่วยบริการของภาครัฐและเอกชล มีภารกิจในด้านการรักษาพยาบาลที่มีปัญหาซับซ้อนมากขึ้น มีความจำเป็นต้องใช้แพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก ได้แก่สาขาสูติศาสตร์ ศัลยศาสตร์ อายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ และวิสัญญีแพทย์ ทำหน้าที่ดูแลซึ่งควรจะเป็นหน่วยบริการที่มีระยะทางเฉลี่ยจากศูนย์กลางกลางตำบลถึงหน่วยบริการดังกล่าว ไม่ควรเกิน 67.5 กม. หรือระยะเวลาเดินทางไม่ควรเกิน 1.30 ชั่วโมง หรือพิจารณาด้วยเกินอื่นๆ ตามความเหมาะสมหน่วยบริการระดับนี้จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรต่างๆเพิ่มขึ้น และต้องรับผิดชอบประชากรไม่น้อยกว่า 80,000 คน หรือกรณีอื่นที่มีความจำเป็นจริงของพื้นที่
http://thaigovweb.com/mophweb/template/portal/index.php?div=325&p=html&page_id=682

...............................................


เพิ่มจุดบริการ "ห้องบัตร-ศัลยกรรม"

28 พฤศจิกายน 2554
08.30-15.30 น.
งานเวชระเบียน เพิ่มจุดบริการ  "ห้องบัตร-ศัลยกรรม"
หน้าห้องตรวจ 20
พิมพ์ใบสั่งยา (กรณีไม่ค้น OPD Card)
ตรวจสอบสิทธิ ,แก้ไขสิทธิการรักษาพยาบาล
Admit ศัลยกรรม ,อายุรกรรม
Claimcode ผู้ป่วยใน


รพ.ราชบุรี เปิดอาคารสุขาและอาคารคลินิกเวชกรรมไทย


รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานเปิดอาคารสุขาและอาคารอำนวยเจียมกาญจน์ (คลินิกเวชกรรมไทย) โรงพยาบาลราชบุรี เพื่อสามารถให้บริการแก่ผู้มารับบริการอย่างเพียงพอ
เช้าวันนี้ เวลา 09.30 น. ที่โรงพยาบาลราชบุรี อ.เมือง จ.ราชบุรี นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานในพิธีเปิดอาคารสุขาและอาคารอำนวยเจียมกาญจน์ (คลินิกเวชกรรมไทย) โรงพยาบาลราชบุรี โดยมีนายณรงค์ ครองชนม์ และ นายเจน รัตนพิเชฏฐชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี นายแพทย์สมชาย เทพเจริญนิรันดร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชบุรี ตลอดจนหัวหน้าส่วนราชการจังหวัดราชบุรีให้การต้อนรับ สำหรับอาคารสุขา เป็นอาคาร 2 ชั้น มีห้องสุขาจำนวน 40 ห้อง ก่อสร้างด้วยเงินบริจาคและเงินมูลนิธิโรงพยาบาลราชบุรี จำนวน 5,300,000 บาท เพื่อสามารถให้บริการแก่ผู้มารับบริการ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลอย่างเพียงพอ ตามมาตรฐานส้วมสะอาด ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ด้านอาคารอำนวยเจียมกาญจน์ (คลินิกเวชกรรมไทย) เป็นอาคาร 1 ชั้น ก่อสร้างด้วยเงินบริจาค จำนวน 1,600,000 บาท เพื่อให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค หาสาเหตุของการเกิดโรคตามทฤษฎีและหลักการของการแพทย์แผนไทย ให้คำแนะนำและการรักษาตามกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนหันมานิยมใช้ยาสมุนไพรมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยลดปัญหาการใช้ยาแผนปัจจุบันเกินความจำเป็น
ทั้งนี้ โรคกลุ่มอาการที่สามารถรับคำปรึกษาและรักษาได้ ได้แก่ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แมลง สัตว์ กัด ต่อย ผื่นคัน หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ ไอ เจ็บคอ เป็นหวัด ไข้ ร้อนใน กระหายน้ำ ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องผูก โรคกระเพาะอาหาร อาหารไม่ย่อย ประจำเดือนมาไม่ปกติ ริดสีดวงทวาร ปรับสมดุลธาตุภายในร่างกาย ดูแลหญิงหลังคลอด และผู้ที่ต้องการเลิกเหล้าหรือบุหรี่ด้วยยาสมุนไพร โดยจะเปิดให้บริการในวันและเวลาราชการ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0-3232-1926 , 0-3271-9600 ต่อ 1417    
  ข้อมูลข่าวและที่มา
ผู้สื่อข่าว : ราชบุรี (สวท.)/กาญจนา ฟูปิง    Rewriter : เพ็ญนภา เข็มตรง
สำนักข่าวแห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์ : http://thainews.prd.go.th
 วันที่ข่าว : 17 พฤศจิกายน 2554
                                          

ผู้ประกันตน ม. 40 ความคุ้มครองกับประกันสังคม


ความแน่นอนของชีวิตคือความไม่แน่นอน นับเป็นความจริงที่ยากต่อการหลีกเลี่ยง กอปรวิถีชีวิตของคนในยุคปัจจุบันมีการดำเนินชีวิตที่ตั้งอยู่บนความเสี่ยงตลอดเวลา โดยเฉพาะกลุ่มผู้หาเช้ากินค่ำ หรือแรงงานนอกระบบซึ่งทำมาหากิน กระจัดกระจายอยู่ทุกภาคส่วนของประเทศ

สำนักงานประกันสังคม (สปส.) เปิดโอกาสให้กับผู้ที่ไม่ได้ทำงานในสถานประกอบการ     หรือผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระทุกสาขาอาชีพ (แรงงานนอกระบบ) ที่มีอายุตั้งแต่ 15-60 ปี  สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนกับทางสำนักงานประกันสังคมได้ โดยให้รับสิทธิประโยชน์สอดคล้อง  กับจำนวนเงินสมทบที่ส่งเพื่อให้ผู้ประกันตนสามารถมีหลักประกันในชีวิตหากเกิดกรณีฉุกเฉินขึ้นกับตน
ทั้งนี้ผู้ประกอบอาชีพอิสระหรือกลุ่มแรงงานนอกระบบที่สนใจเข้าสู่ระบบประกันสังคมสามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 40 ได้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2554  ที่สำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่/จังหวัด/สาขาทั่วประเทศ ผู้แทนเครือข่าย เช่น อาสาสมัครแรงงาน (อสร.), อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) โดยเอกสารในการสมัคร ใช้สำเนาบัตรประชาชน   และกรอกแบบการขึ้นทะเบียนการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 (สปส.1-40)
อ่านเพิ่มเติม>>

แผนการฝึกอบรม/ ศึกษาดูงาน

โรงพยาบาลราชบุรี
แผนการฝึกอบรม/ ศึกษาดูงาน
หน่วยงาน....งานเวชระเบียน.. ปีงบประมาณ....2555
ลำดับเรื่องวิธีการวิทยากรกลุ่มเป้าหมายระยะเวลาจำนวนงบประมาณรวมหมายเหตุ
นอกในตั้งแต่วันที่-วันที่คนวันวิทยากรอาหารวัสดุ เอกสาร อื่นๆ
1ประชุมคณะกรรมการเวชระเบียนประชุม--คณะกรรมการเวชระเบียนทุกเดือน35-35*15-525-
2ประชุมประจำเดือนงานเวชระเบียนประชุม--จนท.เวชระเบียนทุกเดือน49-49*50-2450-




รพ.ราชบุรี จัดโครงการสุขใจใกล้บ้าน

นายแพทย์สมชาย เทพเจริญนิรันดร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชบุรี เปิดเผยว่า โรงพยาบาลราชบุรีจัดทำโครงการ สุขใจใกล้บ้าน เพื่อบริการประชาชนแบบผู้ป่วยนอกในพื้นที่ใกล้บ้าน อำนวยความสะดวกรวดเร็ว ให้สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน และเกิดความอบอุ่นใจ เมื่อมารับบริการรักษาพยาบาล และลดระยะเวลาการเดินทาง ลดค่าใช้จ่ายของผู้มารับบริการอีกด้วย
อย่างไรก็ตามในปี 2554 โรงพยาบาลราชบุรี จะเปิดดำเนินการคลินิกผู้ป่วยนอกจำนวน 5 แห่ง บริการประชาชนในเขตอำเภอเมืองราชบุรี ก่อนขยายเพิ่มไปยังอำเภออื่นๆอีกต่อไป ประกอบด้วย คลินิกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลราชบุรี สาขาศูนย์สุขภาพชุมชนประชานุเคราะห์(โรงเจประปา) , สาขา รพ.สต.พิกุลทอง, สาขา รพ.สต.บ้านไร่ ,สาขา รพ.สต.เจดีย์หัก และสาขา รพ.สต.อ่างทอง
ทั้งนี้ คลินิกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลราชบุรี สาขาศูนย์สุขภาพชุมชนประชานุเคราะห์(โรงเจประปา)จะเปิดให้บริการในวันที่ 1 กรกฎาคม นี้ ส่วนอีก 4 แห่ง จะเปิดให้บริการในวันที่ 1 ตุลาคม 2554 นี้ ทั้งหมดจะเปิดทำการในวันเวลาราชการตั้งแต่เวลา 08.30 น. – 16.30 น.ทุกวันเว้นวันหยุดราชการหรือวันนักขัตฤกษ์
http://thainews.prd.go.th/view.php?m_newsid=255406210037&tb=N255406&news_headline=%C3%BE.%C3%D2%AA%BA%D8%C3%D5%20%A8%D1%B4%E2%A4%C3%A7%A1%D2%C3%20%CA%D8%A2%E3%A8%E3%A1%C5%E9%BA%E9%D2%B9

บัตรประกันสังคมโรงพยาบาลราชบุรี

ผู้ประกันตนสามารถรับบริการรักษาที่โรงพยาบาลราชบุรีและสถานพยาบาลเครือข่ายทุกแห่ง
โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายตามสิทธิระเบียบประกันสังคม  
 สถานพยาบาลเครือข่ายประกันสังคม โรงพยาบาลราชบุรี
1. โรงพยาบาลเจ็ดเสมียน
2. โรงพยาบาลวัดเพลง
3. โรงพยาบาลบางแพ
4. โรงพยาบาลปากท่อ
5. โรงพยาบาลสวนผึ้ง
6. โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชจอมบึง
7. ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองราชบุรี
8. สถานีอนามัยทุกแห่งในเขตจังหวัดราชบุรี  

                        สิทธิพิเศษบัตรประกันสังคม รพ.ราชบุรี     
                              1. การตรวจมะเร็งปากมดลูก (ฟรี)
                              2. เข้าพักรักษาอยู่ห้องพิเศษ ได้ส่วนลดพิเศษ 50 %
                              3. การตรวจสุขภาพประจำปี ได้ส่วนลดพิเศษ 10 %

                                              

กรณีประสบอันตรายเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน
ต้องใช้สิทธิกองทุนเงินทดแทน (กท.44) ในวงเงินเบื้องต้น  45,000 บาท
 
 หลักฐานในการใช้สิทธิ :
เอกสาร กท.44 ซึ่งนายจ้างต้องกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน
ถ้าไม่มีเอกสาร กท.44 ผู้ป่วยต้องชำระเงินเอง


 กรณีฝากครรภ์และคลอดบุตร
ผู้ประกันตนจะได้รับบริการดูแลตั้งแต่ฝากครรภ์ คลอดบุตร โดยใช้สิทธิชำระเงินเอง และเบิกเงินคืนที่สำนักงานประกันสังคมจังหวัด ในอัตราเหมาจ่าย 13,000 บาท
(เอกสารประกอบมีดังนี้ สูติบัตร ทะเบียนสมรส บัตรประจำตัวประชาชน)
- ผู้ประกันตนโรงพยาบาลราชบุรี ที่มีการเจ็บป่วยในขณะตั้งครรภ์และคลอดบุตรสามารถใช้สิทธิประกันสังคมโดย ไม่เสียค่าใช้จ่าย
- ในกรณีคลอดบุตร ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน ทำหนังสือรับรองทำหนังสือรับรองจากสำนักงานประกันสังคม จังหวัดราชบุรีมาให้โรงพยาบาล เพื่อใช้สิทธิคลอดโดย ไม่เสียค่าใช้จ่าย

                                                                                                                                                                  ที่มา:ฝ่ายประกันสุขภาพ รพ.ราชบุรี